สาขา-ขอบข่ายการประเมินเอกสารวิชาการ
31 ตุลาคม 2566

right-arrow (1).png  สาขาความเชี่ยวชาญที่รับขึ้นบัญชี

         
  1. ด้านพิษวิทยา 2. ด้านแพทยศาสตร์
  3. ด้านเภสัชอุตสาหกรรม 4. ด้านเภสัชวิทยา
  5. ด้านสาธารณสุขศาสตร์ 6. ด้านทันตแพทยศาสตร์
  7. ด้านสัตวแพทยศาสตร์ 8. ด้านระบาดวิทยา
  9. ด้านโภชนาการ 10. ด้านสารก่อภูมิแพ้/ด้านอิมมูโนวิทยา
  11. ด้านวิทยาศาสตร์อาหาร 12. ด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
  13. ด้านจุลชีววิทยา 14. ด้านเอนไซม์ทางอาหาร
  15. ด้านสุขาภิบาลอาหาร 16. ด้านวิศวกรรมอาหาร
  17. ด้านวิศวกรรมเคมี 18. ด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
  19. ด้านชีวเคมี 20. ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
  21. ด้านนาโนเทคโนโลยี 22. ด้านอณูชีววิทยา
  23. ด้านวัสดุศาสตร์/เทคโนโลยีวัสดุ/ด้านบรรจุภัณฑ์ 24. ด้านวัสดุศาสตร์/เทคโนโลยีวัสดุ/ด้านบรรจุภัณฑ์
  25. ด้านปิโตรเคมี 26. ด้านเคมี
  27. ด้านการตรวจวิเคราะห์อาหาร 28. ด้านการตรวจวิเคราะห์ภาชนะบรรจุ
  29. ด้านรังสีและนิวเคลียร์เทคโนโลยี 30. ด้านชีววิทยารังสี
  31. ด้านการฉายรังสีอาหาร 32. ด้านเคมีอาหาร
  33. ด้านประมง 34. ด้านเกษตรศาสตร์
  35. ด้านกีฏวิทยา 36. ด้านโรคพืช
  37. ด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 38. ด้านการจัดการโลจิกส์ติกในอุตสาหกรรมอาหาร
  39. ด้านกฎหมาย 40. อื่นๆ
         

 

right-arrow (1).png  ขอบข่ายของการประเมินเอกสารวิชาการ

     
 

คู่มือสำหรับประชาชน

  right-arrow.png การขออนุญาตและแก้ไขรายการผลิตภัณฑ์อาหารมีวัตถุประสงค์พิเศษ
  right-arrow.png การขอประเมินความปลอดภัยวัตถุเจือปนอาหาร
   
  • กรณี วัตถุเจือปนอาหารที่ไม่มีข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน (กรณีที่ 1-1) วัตถุเจือปนอาหาร
   
  • กรณี วัตถุเจือปนอาหารที่ไม่มีข้อกำหนดคุณภาพหรือ (กรณีที่ 1-2) เอนไซม์ เอนไซม์เตรียมสำเร็จ หรือเอนไซม์ตรึงรูป
   
  • กรณี วัตถุเจือปนอาหารที่ยังมิได้กำหนดเงื่อนไขการใช้หรือเพิ่มเติมเงื่อนไขการใช้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข
  right-arrow.png การขอประเมินการกล่าวอ้างทางสุขภาพ (Health Claim)
  right-arrow.png การขอประเมินความปลอดภัยอาหาร
   
  • การขอทวนสอบการเป็นอาหารใหม่ (Novel food) 
   
  • การยื่นผลการประเมินความปลอดภัยการเป็นอาหารใหม่ (Novel food) 
   
  • การขอประเมินความปลอดภัยอาหารที่ไม่เข้าข่ายอาหารใหม่ 
   
  • การขอประเมินการใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร ที่นอกเหนือจากบัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข
  right-arrow.png การขอประเมินคุณภาพหรือมาตรฐาน และความปลอดภัยของวัสดุที่ใช้ทำขวดนม และภาชนะบรรจุนมสำหรับทารกและเด็กเล็ก ที่มิใช่ชนิดวัสดุที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข
  right-arrow.png การขอประเมินคุณภาพหรือมาตรฐาน และความปลอดภัยของภาชนะบรรจุอาหาร หรือภาชนะบรรจุที่ทำจากพลาสติกที่ยังมิได้กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข 
   
  • การขอประเมินคุณภาพหรือมาตรฐาน และความปลอดภัยของภาชนะบรรจุที่ทำจากพลาสติกที่ยังมิได้กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข
   
  • การขอประเมินคุณภาพหรือมาตรฐาน และความปลอดภัยของภาชนะบรรจุที่มีการใช้สารหรือสารเคมีในภาชนะบรรจุซึ่งส่งผลต่อคุณสมบัติของอาหารที่บรรจุในภาชนะดังกล่าว