อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      บริการข้อมูล

      • หน้าแรก
      • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • รายชื่อผู้สอบผ่าน
      • logo category การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • logo category การยื่นคำขอประเมินความปลอดภัย
      • logo category หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • logo category หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • logo category หน่วยงานตรวจวิเคราะห์อาหาร/ภาชนะบรรจุอาหาร
      • logo category ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • logo category หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.

      หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.


      หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • บัญชีรายชื่อหน่วยฝึกอบรม
      • หลักเกณฑ์/เงื่อนไข
      • ขั้นตอนการขึ้นทะเบียน
      • คำขอขึ้นบัญชี
      • รายชื่อผู้สอบผ่าน



      heading-list-exam-3.png


      คำชี้แจง


      ​
      วัตถุประสงค์

      เพื่ออำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจประเมินสถานที่ผลิตของประเทศ ผู้ประกอบการผลิตอาหาร เป็นข้อมูลในการตรวจสอบรายชื่อ ข้อมูลประกอบการพิจารณาการตรวจประเมิน และเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานกำกับดูแลมาตรฐานของสถานที่ผลิตเท่านั้น


      รายชื่อที่ประกาศเผยแพร่เป็นรายชื่อเฉพาะผู้ที่สอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรการอบรมที่ขึ้นทะเบียน หลักสูตรและหน่วยฝึกอบรมกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเท่านั้น สำหรับผู้ที่สอบไม่ผ่านตามหลักสูตรที่กำหนดไว้ไม่สามารถใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนด


      ผู้สอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรการอบรมยังไม่จัดเป็นผู้มีคุณสมบัติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข หรือประกาศสำนักงานที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากต้องมีคุณสมบัติด้านอื่นๆ ตามที่กฎหมายกำหนดประกอบการพิจารณาด้วย จึงเป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข


      รายชื่อผู้สอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตอาหาร

      (Food Process Control Supervisor) 

      ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร กำหนดให้สถานที่ผลิตอาหารที่บังคับใช้ข้อกำหนดเฉพาะ ต้องมีการแต่งตั้ง ผู้ควบคุมการผลิตอาหารอาหาร (Food Process Control Supervisor)

      ประจำ ณ สถานที่ผลิต

      (1)  ผู้ควบคุมการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท น้ำแร่ธรรมชาติ หรือน้ำแข็งบริโภค ที่ผ่านกรรมวิธีการกรอง

      (2)  ผู้ควบคุมการผลิตผลิตภัณฑ์นมพร้อมบริโภคชนิดเหลวที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยวิธีพาสเจอไรซ์

      (3)  ผู้ควบคุมการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำ และชนิดที่ปรับกรด ที่ผ่านกรรมวิธีการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยทำให้ปลอดเชื้อเชิงการค้า


      โดยต้องมีคุณสมบัติ หน้าที่ และเงื่อนไขการปฏิบัติงานดังนี้​

      คุณสมบัติ​ ​

      1. มีความรู้เพียงพอในการควบคุมกระบวนการผลิต
      2. มีหลักฐานการสอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตอาหาร ตามข้อกำหนดเฉพาะ 1, 2 หรือ 3 แล้วแต่กรณี
      3. จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ
      4. หน่วยฝึกอบรมที่ได้ขึ้นบัญชีไว้กับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 

      ​ ทำหน้าที่ 

      1. ดูแลควบคุมการผลิตอย่างสม่ำเสมอ ทุกรุ่นการผลิต ให้เป็นไปตามกฎหมาย รวมทั้งทวนสอบบันทึกการควบคุมกระบวนการผลิตประจำ ณ สถานที่ผลิตอาหาร 


      เงื่อนไขการปฏิบัติงาน

      1. ต้องแต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษร มีข้อมูล ชื่อสกุล ตำแหน่ง อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
      2. ผู้ควบคุมการผลิตอาหาร 1 คน ประจำ ณ สถานที่ผลิต ได้เพียง 1 แห่งเท่านั้น (พิจารณาจากเลขที่ใบอนุญาตผลิตอาหาร หรือเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน)
      3. สถานที่ผลิตอาหาร 1 แห่ง สามารถแต่งตั้งผู้ควบคุมการผลิตอาหารได้มากกว่า 1 คน 
      4. หากพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือผู้ตรวจประเมิน ตรวจพบว่า สถานประกอบการไม่มีมาตรการควบคุมคุณภาพ และความปลอดภัย อย่างสม่ำเสมอ ถึงแม้จะมีผู้ควบคุมการผลิตที่มีคุณสมบัติครบ ก็ถือว่า "ไม่ผ่าน GMP 420" เช่นเดียวกันกับกรณีไม่มีผู้ควบคุมการผลิต หรือมีผู้ควบคุมการผลิตที่มีคุณสมบัติไม่ครบตามข้อกำหนด


      ตาราง รายชื่อผู้สอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรการอบรมตามที่กฎหมายกำหนด

      ลำดับ

      หลักสูตร

      รายชื่อ

      ​1.

      หลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท น้ำแร่ธรรมชาติ หรือน้ำแข็งบริโภค ที่ผ่านกรรมวิธีการกรอง

      list 1.png​

      ​2.

      หลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตผลิตภัณฑ์นมพร้อมบริโภคชนิดเหลวที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยวิธีพาสเจอไรซ์

      list 1.png​

      ​3.

      หลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำ และชนิดที่ปรับกรด ที่ผ่านกรรมวิธีการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยทำให้ปลอดเชื้อเชิงการค้า

      list 1.png



        ผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน (Process Authority) คือ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลจากหน่วยงานภายในหรือภายนอกที่มีความรู้ ความชำนาญ ทำหน้าที่ศึกษาเพื่อกำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนของอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดที่ปรับกรด รวมถึงระบบการผลิตและการบรรจุแบบปลอดเชื้อ โดยมีความพร้อมของเครื่องมือ และอุปกรณ์ในการศึกษาอย่างครบถ้วน เพื่อให้ผลการศึกษาถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดกรรมวิธีการผลิต (Schedule Process) ของผลิตภัณฑ์อาหารแต่ละชนิด

      ​      นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ประเมินทบทวนความเหมาะสมของกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยวิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เช่น การเปลี่ยนแปลงสูตรการผลิต การเปลี่ยนเครื่องฆ่าเชื้อใหม่ การเปลี่ยนตำแหน่งเครื่องฆ่าเชื้อ เป็นต้น เพื่อกำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อสำรอง (Alternative Process) อีกทั้งยังทำหน้าที่เป็นผู้ประเมินและตัดสินใจดำเนินการกับผลิตภัณฑ์ที่มีการเบี่ยงเบนไปจากกรรมวิธีการผลิตที่กำหนด (Process Deviation)

            ทั้งนี้ สถานที่ผลิตอาจมีนักวิชาการที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ในการเป็นผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนประจำสถานที่ผลิตนั้นๆ หรือใช้บริการหน่วยงานภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญก็ได้

            ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ได้กำหนดคุณสมบัติและความรู้ความสามารถของผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน ดังนี้

      1. จบการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร เทคโนโลยีทางอาหาร วิศวกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเกษตร หรือสาขาอื่นที่มีการเรียนการสอนในพื้นฐานรายวิชาเกี่ยวกับการแปรรูปอาหาร
      2. มีประสบการณ์ในการกำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนที่สอดคล้องตามกลุ่มประเภทอาหารที่ศึกษาอย่างต่อเนื่องตามความเหมาะสม
      3. มีหลักฐานการสอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือหน่วยฝึกอบรมที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ขึ้นบัญชีไว้ โดยท่านสามารถเช็คได้ตามตาราง ดังนี้


      ​ตาราง รายชื่อผู้สอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรการอบรมตามที่กฎหมายกำหนด

      ลำดับ

      หลักสูตร

      รายชื่อ

      ​1.

      หลักสูตรผู้กำหนดกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำและชนิดปรับกรด (Process Authority)

      list 1.png​


      1
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup