ชุดที่ | เนื้อหาบทความ | ดาวน์โหลด |
1. | การออกแบบสถานที่ผลิตอาหารที่ถูกสุขลักษณะ 1.1 โครงสร้างอาคาร พื้น ผนัง เพดาน 1.2 สายการผลิตและผังการไหลของผลิตภัณฑ์ 1.3 การระบายน้ำ 1.4 การระบายอากาศ 1.5 ห้องบรรจุ หรือ high care area 1.6 ห้องน้ำ ห้องส้วม อ่างล้างมือ ในบริเวณผลิต 1.7 ห้องปฏิบัติการ (Laboratory) | |
2. | เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิต ที่ถูกสุขลักษณะ 2.1 การเลือกวัสดุที่ใช้ 2.2 ระบบท่อ ข้อต่อ วาล์ว ปั๊ม 2.3 ถังผสม ถังกวน | |
3. | การตรวจสอบแรงม้าของเครื่องจักร และ วิธีคำนวณแรงม้าเปรียบเทียบ | |
4. | การใช้วัตถุเจือปนอาหาร 4.1 กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับวัตถุเจือปนอาหาร 4.2 ข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้ 4.3 การจำแนกหมวดอาหาร และตัวอย่าง 4.4 คำอธิบายกลุ่มหน้าที่ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต 4.5 วิธีการชั่งตวง และตัวอย่างการคำนวณการใช้วัตถุเจือปนอาหาร 4.6 แนวทางการพิจารณาวัตถุเจือปนอาหารที่ตกค้างหรือติดมากับวัตถุดิบ (Carry Over) | |
5. | การควบคุมกระบวนการผลิต 5.1 การใช้ความร้อนในการฆ่าเชื้อ -
การสเตอริไลซ์ (Commercial Sterilization) -
การผลิตและบรรจุแบบปลอดเชื้อ (Aseptic Processing and Packaging System) -
การพาสเจอไรซ์ (Pasteurization) -
การปรุงสุก (Cooking) 5.2 การใช้ความเย็น (ควบคุมอุณหภูมิที่เก็บรักษา) 5.3 การฉายรังสี 5.4 การกําจัดจุลินทรีย์โดยการกรอง (Filtration) 5.5 การปรับกรด (Acidification) 5.6 การใช้แสงอุลตราไวโอเลต ( UV ) 5.7 การปรุงผสมโดยไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อ 5.8 การลดค่าวอเตอร์แอคติวิตี้ 5.9 การดอง (การแช่ความเค็ม การแช่ความเปรี้ยว การแช่ความหวาน) 5.10 การหมัก 5.11 การล้างและฆ่าเชื้อผักผลไม้สด | |
6. | ตัวอย่างกระบวนการผลิตอาหารและจุดสำคัญที่ต้องควบคุม 6.1 การผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 6.2 การผลิตน้ำแข็งซอง 6.3 การผลิตน้ำแข็งยูนิต 6.4 การผลิตนมพร้อมดื่มพาสเจอไรซ์ 6.5 การผลิตและบรรจุแบบปลอดเชื้อ (Aseptic Processing and Packaging System) 6.6 การผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำ โดยใช้เครื่องฆ่าเชื้อภายใต้ความดัน (Retorted Process) 6.7 การผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่ปรับกรด 6.8 การผลิตผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ | |
7. | สารช่วยในกระบวนการผลิต (Processing Aid) | |
8. | ภาชนะบรรจุอาหาร (Food Packaging) 8.1 การเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหาร 8.2 การใช้วัสดุใหม่ | |
9. | การทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อในกระบวนการผลิตอาหาร 9.1 การทำความสะอาดและฆ่าเชื้อพื้นผิวสัมผัสอาหาร 9.2 การ CIP (การทำความสะอาดแบบไม่ถอดชิ้นส่วน) 9.3 ไบโอฟิล์ม และการทำความสะอาด 9.4 สารทำความสะอาดและสารฆ่าเชื้อที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร 9.5 วิธีการเตรียมคลอรีนสำหรับฆ่าเชื้อ | |
10. | การควบคุมและกำจัดสัตว์และแมลง (Pest Control) | |
11. | เอกสารที่จำเป็น (บันทึกผล + วิธีการบันทึกที่ถูกต้อง) | |
11.1 ตัวอย่างสำหรับข้อกำหนดพื้นฐาน -
- บันทึกการรับวัตถุดิบ/ภาชนะบรรจุ
- บันทึกแสดงการควบคุมกระบวนการผลิตอาหาร
(บันทึกการชั่งวัตถุดิบ บันทึกการผสม บันทึกการต้ม) - บันทึกชนิดและปริมาณการผลิตประจำวันของผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป
- บันทึกการจำหน่าย เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการเรียกคืนสินค้า
- บันทึกการตรวจสอบสภาพเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์การผลิต
- บันทึกการทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์การผลิตก่อนและหลังปฏิบัติงาน
- บันทึกการทวนสอบประสิทธิภาพการทำความสะอาด (Swab Test)
- บันทึกการสอบเทียบเครื่องมือวัด
- บันทึกการควบคุมสัตว์และแมลง
- บันทึกการฝึกอบรมพนักงาน
- บันทึกรายงานการตรวจวิเคราะห์
- บันทึกการทำความสะอาดบริเวณ/อาคารผลิตอาหาร
- บันทึกสุขลักษณะส่วนบุคคล
- ขั้นตอนการเรียกคืนผลิตภัณฑ์/บันทึกข้อร้องเรียนจากลูกค้า
- การตรวจประเมินตนเอง
- รายงานผลการตรวจสุขภาพพนักงาน
| |
11.2 ตัวอย่างกรณีผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท น้ำแร่ธรรมชาติ และน้ำแข็งบริโภค -
- ตัวอย่างการแต่งตั้งผู้ควบคุมการผลิต
- บันทึกการเติมคลอรีนเพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ในน้ำดิบ
- บันทึกการตรวจสอบประสิทธิภาพการกรองหรือฆ่าเชื้อ
- บันทึกการล้างและการตรวจวัดประสิทธิภาพของสารกรองหรือฆ่าเชื้อ
- บันทึกการดูแลและตรวจสอบความสมบูรณ์ของเยื่อกรอง
| |
11.3 ตัวอย่างกรณีผลิตนมพร้อมดื่มพาสเจอไรซ์ -
- ตัวอย่างการแต่งตั้งผู้ควบคุมการผลิต
- บันทึกการรับน้ำนมดิบ
- บันทึกการควบคุมอุณหภูมิและเวลาการพาสเจอไรซ์ กรณีผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง (Batch Pasteurization)
- บันทึกการควบคุมอุณหภูมิและเวลาการพาสเจอไรซ์ กรณีผลิตแบบต่อเนื่อง (Continuous Pasteurization)
- การยืนยันความใช้ได้ (Validation) ของเวลาในการคงอุณหภูมิ (Holding time)
- บันทึกการควบคุมอุณหภูมิผลิตภัณฑ์ภายหลังกระบวนการพาสเจอไรซ์
- บันทึกการตรวจประสิทธิภาพการพาสเจอไรซ์
- บันทึกผลชนิดสารเคมี ความเข้มข้น อุณหภูมิ ระยะเวลา
| |
11.4 ตัวอย่างกรณีผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำ และชนิดที่ปรับกรด -
- ตัวอย่างการแต่งตั้งผู้ควบคุมการผลิต
- บันทึกการควบคุมและตรวจสอบปัจจัยวิกฤตให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในเอกสาร Scheduled Process
- บันทึกการดำเนินการกับผลิตภัณฑ์ในสภาวะที่เกิดการเบี่ยงเบน (Process Deviation) ไปจากScheduled Process
- บันทึกการควบคุมกระบวนการผลิต การฆ่าเชื้อ และการควบคุมปัจจัยวิกฤติ ให้เป็นไปตาม Scheduled Process
- บันทึกการควบคุมสภาวะที่รักษาสภาพปลอดเชื้อใน Aseptic Surge Tank
- บันทึกการฆ่าเชื้อภาชนะบรรจุให้อยู่ในสภาพปลอดเชื้อ
- บันทึกการควบคุมสภาวะปลอดเชื้อในระหว่างการบรรจุ (Aseptic Zones) และปัจจัยวิกฤต เป็นไปตาม Scheduled Process
- ขั้นตอนวิธีการปรับกรด วิธีเก็บตัวอย่าง วิธีวัดค่า pH
- บันทึกการตรวจสอบค่า pH ของอาหาร
- เอกสารขั้นตอนวิธีการควบคุมค่า aw วิธีเก็บตัวอย่าง วิธีวัดค่า aw
- บันทึกการตรวจสอบค่า aw ของอาหาร
- บันทึกมาตรการป้องกันการปนเปื้อนข้ามเพื่อป้องกันการสร้างสารพิษของ S.aureus อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การควบคุมอุณหภูมิและเวลาในการเก็บรักษาวัตถุดิบ
- ตัวอย่างรายงานผลการศึกษา TD HP
| |
12. | การสอบเทียบเครื่องมือวัด (Calibration) 12.1 ความสำคัญของการสอบเทียบและคำศัพท์ที่จำเป็น 12.2 เครื่องมือวัดอะไรที่จำเป็นต้องสอบเทียบ 12.3 ใครเป็นผู้สอบเทียบ 12.4 การจัดทำแผนการสอบเทียบ และการจัดการเครื่องมือวัด 12.5 การพิจารณาความถี่ในการสอบเทียบ 12.6 การกำหนดจุดในการสอบเทียบ 12.7 การกำหนดเกณฑ์การยอมรับ -
- การบันทึกผลการสอบเทียบ
- การจัดการกับเครื่องมือวัดที่ไม่ผ่านเกณฑ์การยอมรับ
12.8 การเลือกใช้บริการห้องปฏิบัติการสอบเทียบ -
- ห้องปฏิบัติการมาตรฐาน
- การอ่านผลการสอบเทียบ
12.9 วิธีการสอบเทียบด้วยตนเอง และการบันทึกผล -
- เครื่องชั่ง
- เทอร์โมมิเตอร์
- pH มิเตอร์
| |
13. | สุขลักษณะส่วนบุคคล (Personal Hygiene) - การสวมหมวกคลุมผมและผ้าปิดปากที่ถูกสุขลักษณะ
- วิธีการล้างมือที่ถูกวิธี
- ตัวอย่างป้ายคำเตือนด้านสุขลักษณะ
| |
14. | การเรียกคืนผลิตภัณฑ์ (Recall Product) - ตัวอย่างขั้นตอนการเรียกคืน (Recall Procedures)
- ตัวอย่างการบันทึกผลการเรียกคืนและการจัดการกับผลิตภัณฑ์ที่ถูกเรียกคืน
| |
15. | การตรวจประเมินตนเองตามข้อกำหนด GMP | |
16. | รายการตรวจวิเคราะห์คุณภาพหรือมาตรฐานของผลิตภัณฑ์สุดท้ายสำหรับอาหารทุกประเภท เพื่อทวนสอบประสิทธิผลของระบบ GMP ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร Update 26 ก.ค. 67 | |