อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ตรวจวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือที่ใช้หลักการโครมาโตกราฟี (Chromatography) ในวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์อาหาร ห้องปฏิบัติการที่สามารถตรวจวิเคราะห์เพื่อยืนยันปริมาณสารสำคัญได้ เช่น

      1. ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

      - ราคาค่าตรวจ วิเคราะห์ (บาท) 5,000/ ชนิดสาร (THC/CBD)

      - ระยะเวลาการตรวจวิเคราะห์ 14 วัน

      หมายเหตุ : ห้องปฏิบัติการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ส่วนภูมิภาค) ยังไม่สามารถตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญ (THC, CBD) ในอาหารและเครื่องดื่มได้

      2.  บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด (Central Lab Thai)

      3.  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)  ศูนย์ทดสอบและมาตรวิทยา (ศทม.)

      4.  ศูนย์บริการวิเคราะห์ทดสอบ  สวทช. (NCTC)

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ผลิตภัณฑ์อาหาร

      ตอบ  น้ำผสมใบกัญชาหรือน้ำแร่ผสมใบกัญชา จัดเป็นอาหารควบคุมเฉพาะตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 427) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง ชนิดเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ซึ่งผลิตภัณฑ์ต้องมีคุณภาพมาตรฐานตาม

      1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 427) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง
      2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 356) พ.ศ.2556 เรื่อง เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ผลิตภัณฑ์อาหาร

      ตอบ   

      1. อาหารสำหรับทารก และอาหารสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็ก
      2. นมดัดแปลงสำหรับทารกและนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องสำหรับทารกและเด็ก
      3. อาหารเสริมสำหรับทารกและเด็ก
      4. เครื่องดื่มที่ผสมกาเฟอีน
      5. อาหารที่มีนิยาม หรือ คุณภาพหรือมาตรฐาน ที่กำหนดเงื่อนไขการห้ามเติมส่วนประกอบหรือสารต่างๆไว้ เช่น กาแฟสำเร็จรูป, กาแฟสำเร็จรูปที่สกัดคาเฟอีนออก, เนยเทียม เนยผสม ผลิตภัณฑ์เนยเทียม ผลิตภัณฑ์เนยผสม, ช็อกโกแลตทุกชนิด(ยกเว้นช็อกโกแลตชนิดผสม), ไข่เยี่ยวม้า, เกลือบริโภค, วัตถุแต่งกลิ่นรสนม, นมโค รอยัลเยลลี เครื่องดื่มเกลือแร่ น้ำบริโภค น้ำแข็ง น้ำแร่ธรรมชาติ น้ำมันและไขมัน น้ำมันปลา ครีม น้ำมันเนย เนย เนยแข็ง เนยใสหรือกี น้ำผึ้ง ข้าวเติมวิตามิน ชาจากพืช เกลือบริโภค ข้าวแป้งกล้อง น้ำส้มสายชู เอนไซม์สำหรับใช้ในการผลิตอาหาร ผลิตภัณฑ์สำหรับทำความสะอาดหรือฆ่าเชื้อสำหรับอาหาร และอาหารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษสำหรับสตรีมีครรภ์และให้นมบุตรหรือสำหรับทารกและเด็กเล็ก

              อนึ่งอาหารตามข้อ 5 บางประเภท เมื่อเติมส่วนของกัญชาหรือกัญชง ประเภทอาหารอาจเปลี่ยนไป ดังเช่น น้ำบริโภค มีการเติมส่วนของกัญชาหรือกัญชง จะจัดเป็น ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง ชนิดเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ผลิตภัณฑ์อาหาร

      ตอบ  1. ส่วนของพืชกัญชา กัญชง (แห้ง หรือสด) ที่อยู่นอกสถานที่ผลิตอาหาร ไม่อยู่ภายใต้การกำกับดูแล ตามพระราชบัญญัติอาหาร เนื่องจากสามารถใช้เป็นวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์สุขภาพที่หลากหลาย เช่น ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เครื่องสำอาง หรืออาหาร พระราชบัญญัติอาหารจะตรวจส่วนของพืชกัญชา กัญชง ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการ ผลิตอาหาร ในสถานที่ผลิตอาหารเท่านั้น โดยผู้ประกอบการต้องมีหลักฐานการได้มาของส่วนของพืชกัญชา กัญชง จากแหล่งวัตถุดิบที่ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้องตามพระราชบัญญัติยาเสพติด โดยผู้ประกอบการที่ผลิต ผลิตภัณฑ์อาหารดังกล่าว ต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 427) พ.ศ.2564 ออกตาม ความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือ กัญชง

           2. ส่วนของพืชกัญชาหรือกัญชงอบแห้งที่มีวัตถุประสงค์ใช้เพื่อการชงดื่มในลักษณะเดียวกับชาชง เช่น ชาใบกัญชา ผลิตภัณฑ์นี้อาจจัดเป็นอาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 427) พ.ศ.2564 ออก ตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือ กัญชง

                โดยผลิตภัณฑ์ต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐานเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 427) และไม่กล่าว อ้างสรรพคุณใดๆ เช่น relax ผ่อนคลาย นอนหลับ อย่างไรก็ตามหากผลิตภัณฑ์ชาใบกัญชามีการกล่าวอ้าง สรรพคุณรักษาโรค หรือมีผลต่อสุขภาพ อาจจัดเป็น "ผลิตภัณฑ์สมุนไพร" ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่เว็บไซต์กองผลิตภัณฑ์สมุนไพร

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ผลิตภัณฑ์อาหาร

      ตอบ  กรณีอาหารประเภทอื่นนอกเหนือจากบัญชีดังกล่าว ผู้ผลิตใดมีความประสงค์จะนำเมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ด กัญชง หรือโปรตีนจากเมล็ดกัญชงไปใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารของตน สามารถยื่นข้อมูลความ ปลอดภัยและความจำเป็นทางเทคโนโลยีการผลิตอาหาร เพื่อให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาพิจารณา เพิ่มเติมประเภทอาหารเพื่ออนุญาตให้สามารถใช้ได้ ต้องออกเป็นประกาศกระทรวงสาธารณสุข โดยเสนอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนดเพิ่มเติมต่อไป

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ผลิตภัณฑ์อาหาร

      ตอบ  กำหนดค่าการปนเปื้อนสาร THC และ CBD พิจารณาตามข้อมูลวิชาการที่ปรากฏ ทั้งข้อมูลสายพันธุ์ปลูกในประเทศไทย และต่างประเทศ โดยพบว่า เมล็ดกัญชง ประกอบด้วยสารอาหารประเภทไขมัน แป้ง โปรตีน ใยอาหาร วิตามินและแร่ธาตุ โดยเฉพาะไขมันมีสูงถึง 29-34% ประกอบไปด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว linoleic acid (omega-3) 54-60%, linolenic acid (omega-6) 15-20%, oleic acid 11-13% ซึ่งภายในเมล็ดกัญชงนั้นจะไม่มีองค์ประกอบที่เป็น THC และ CBD การพบสารดังกล่าวเป็นผลจากการปนเปื้อนน้ำมันเรซินเหนียวที่หลั่งออกมาจากต่อมไทรโคม (glandular  trichomes) จำนวนมากบนช่อดอกและใบอ่อน หากมีการเก็บเกี่ยวเมล็ดที่ไม่ดี อาจทำให้พื้นผิวเปลือกด้านนอกของเมล็ดสกปรก

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ผลิตภัณฑ์อาหาร

      1
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup