อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
        • แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ    ผลิตภัณฑ์สริมอาหารที่มีลักษณะเป็นเจลลี่ ไม่เข้าข่ายเป็นแยม เยลลี่ และมาร์มาเลด ตามประกาศฯ ฉบับที่ 455

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ    ผลิตภัณฑ์เจลาตินสำเร็จรูป ไม่เข้าข่ายนิยามเป็นผลิตภัณฑ์ตามประกาศฯ ฉบับที่ 455 แต่เข้าข่ายเป็นผลิตภัณฑ์ตามประกาศฯ ฉบับที่ 456

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ    หากปรับแก้ไขปริมาณผลไม้ให้สอดคล้องตามประกาศฯ ฉบับที่ 455 แล้ว สูตรไม่ต้องยื่นแก้ไข สามารถใช้เลข สารบบอาหารเดิมได้

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ    สามารถใช้ประเภทอาหารเดิม และเลขสารบบอาหารเดิมได้ โดยที่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไม่สามารถใช้ชื่อที่มีคำว่า “แยม” “เยลลี่” หรือ “มามาร์เลด” ได้

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ    กรณีสถานที่ผลิตอาหาร หากประสงค์จะยกเลิกประเภทอาหาร-อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และเพิ่มประเภทอาหารในใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2) หรือใบสำคัญเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1/1) จะต้องได้รับการอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาก่อน

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ    ไม่สามารถใช้เลขสารบบอาหารเดิมได้ ต้องยื่นขอรับเลขสารบบอาหารใหม่

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ    ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว หากผู้ประกอบการตรวจสอบปริมาณผลไม้ ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ (soluble solid) และลักษณะผลิตภัณฑ์ แล้วพบว่าเข้าข่ายตามประกาศฯ ฉบับที่ 455 สามารถแจ้งแก้ไขประเภทอาหารได้

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ   

      • กรณีสถานที่ผลิตอาหาร ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแบบแปลนแผนผัง รายการเครื่องมือ เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตอาหาร ผู้รับใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2) หรือใบสำคัญเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1/1) ระบบจะแก้ไขชื่อประเภทอาหารจาก แยม เยลลี และมาร์มาเลดในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท เป็น แยม เยลลี่ และมาร์มาเลด ในใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2) หรือใบสำคัญเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1/1) ให้อัตโนมัติ โดยไม่ต้องยื่นคำขอและไม่มีค่าใช้จ่าย
      • กรณีสถานที่ผลิตอาหาร มีการเปลี่ยนแปลงแบบแปลนแผนผัง รายการเครื่องมือ เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตอาหาร ผู้รับใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2) หรือใบสำคัญเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1/1) จะต้องยื่นคำขอตรวจประเมินสถานที่ และผ่านการตรวจประเมินก่อน จึงยื่นคำขอแบบ ส.4 (สถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่ายโรงงาน) หรือ สบ.2 (สถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน) เพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในใบอนุญาตฯ หรือใบสำคัญฯ ได้ และต้องชำระค่าคำขอ

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ    การพิจารณาประเภทผลิตภัณฑ์ต้องพิจารณาปริมาณผลไม้ที่เป็นส่วนประกอบ ร่วมกับปริมาณของแข็งที่ละลายได้ (soluble solid) 

      ซึ่งข้อกำหนดตามประกาศฯ กำหนดปริมาณของแข็งที่ละลายได้ (soluble solid) ดังนี้

      (ก)  ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของน้ำหนัก สำหรับแยม เยลลี่ มาร์มาเลดที่ทำจากผลไม้สกุลส้ม หรือเยลลี่มาร์มาเลด

      (ข)  ไม่เกินร้อยละ 65 ของน้ำหนัก สำหรับมาร์มาเลดที่ไม่ได้ทำจากผลไม้สกุลส้ม

      แนวทางการพิจารณาผลิตภัณฑ์ข้างต้น มีดังนี้

      • กรณีผลิตภัณฑ์มีปริมาณ brix หรือของแข็งที่ละลายได้ (soluble solid) ร้อยละ 41 ซึ่งมีปริมาณน้อยกว่าเกณฑ์ปริมาณ soluble solid ของแยม และมาร์มาเลดที่ทำจากผลไม้สกุลส้ม (citrus marmalade) ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจะไม่จัดเป็นแยม และ citrus marmalade ดังนั้น
        • ผลิตภัณฑ์ทำจากแอปริคอต ที่มีปริมาณ soluble solid ร้อยละ 41 จึงไม่จัดเป็นแยมแอปริคอต แต่หากผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีปริมาณผลไม้มากกว่าร้อยละ 30 สามารถจัดเป็นมาร์มาเลดที่ไม่ได้ทำจากผลไม้สกุลส้ม (non citrus marmalade) ใช้ชื่อมาร์มาเลดแอปริคอต ได้
        • ผลิตภัณฑ์ทำจากส้ม ที่มีปริมาณ soluble solid ร้อยละ 41 ซึ่งไม่ถึงเกณฑ์ จึงไม่จัดเป็นแยมส้ม และไม่จัดเป็น citrus marmalade (อีกทั้งไม่ระบุว่ามีผิวส้มผสมหรือไม่) และไม่สามารถจัดเป็น non citrus marmalade ได้เนื่องจากผลิตภัณฑ์ต้องไม่ทำจากผลไม้สกุลส้ม
      • กรณีผลิตภัณฑ์มีปริมาณผลไม้ และปริมาณ soluble solid ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ในประกาศฯ ฉบับที่ 455 ให้พิจารณากรรมวิธีการผลิต ภาชนะบรรจุ และลักษณะผลิตภัณฑ์ว่าเป็นไปตามนิยามของอาหารภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทหรือไม่ หากใช่ จัดเป็นอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทได้

       

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      ตอบ         faq-jam-jelly-12.jpg

        • ผลิตภัณฑ์ทำจากเม็ดมะม่วงหิมพานต์ (cashew nuts) ไม่จัดเป็นผลิตภัณฑ์ตามประกาศฯ ฉบับ 455 เนื่องจากเม็ดมะม่วงหิมพานต์ อยู่ในประเภทผลเปลือกแข็ง เมล็ด และน้ำเลี้ยง (nuts, seeds and saps) จึงไม่จัดเป็นผลไม้ ตาม มกษ. 9045-1-2568   
        • ผลิตภัณฑ์ทำจากผลมะม่วงหิมพานต์ หรือเนื้อมะม่วงหิมพานต์ (cashew apples) สามารถจัดเป็นผลิตภัณฑ์ตามประกาศฯ ฉบับ 455 ได้ เนื่องจากผลมะม่วงหิมพานต์ จัดเป็นผลไม้ ตาม มกษ. 9045-1-2568  โดยต้องมีปริมาณผลไม้ และปริมาณของแข็งที่ละลายได้ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด

       

      link.png   แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด

      12345
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup