อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ปัจจุบันมี 3 วิธี ได้แก่

                1. ชุดทดสอบไอคิท (I-Kit) และชุดทดสอบไอคิทที่ดัดแปลงการอ่านด้วยไม้บรรทัด (Modified I-Kit)

                2. เครื่องไอรีดเดอร์ (I-Reader)

                3. ไตเตรชั่น (Titration)

               สำหรับวิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน ปัจจุบันมีเพียง 1 วิธี เท่านั้น ได้แก่ วิธี Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (ICP-MS) ทั้งนี้ ผู้ประกอบการควรส่งผลิตภัณฑ์ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน ณ ห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐาน 17025 หรือหน่วยงานราชการ อย่างน้อยปีละครั้ง

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ​สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล โทร. 024419734, 024419729 มือถือ 0863205925 และสามารถติดต่อผ่านเว็บไซต์ www.il.mahidol.ac.th หรือ E-mail: ikit.muil@gmail.com

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ หากหัวเชื้อดังกล่าวไม่ได้มีการเติมไอโอดีนลงในผลิตภัณฑ์ สถานประกอบการที่รับซื้อหัวเชื้อไปผลิตต่อสามารถเติมไอโอดีนลงไปในผลิตภัณฑ์ได้ แต่หากหัวเชื้อดังกล่าวมีการเติมไอโอดีนลงในผลิตภัณฑ์แล้ว สถานประกอบการที่รับซื้อหัวเชื้อไปไม่ควรเติมไอโอดีนลงในหัวเชื้ออีก เนื่องจากอาจมีโอกาสทำให้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายมีปริมาณไอโอดีนสูงเกินกว่าที่มาตรฐานกำหนดได้

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ กรณีปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ตรวจพบขาดหรือเกินร้อยละ 30 จากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุด จะถือว่าเข้าข่ายเป็นอาหารปลอมตามมาตรา 25(2) โดยมีลักษณะตามมาตรา 27(5) ให้ต้องระวางโทษตามมาตรา 59 ของพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 กล่าวคือ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 25(2)  ตต้องระวังโทษจําคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ห้าพันบาทถึงหนึ่งแสนบาท

              กรณีปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ตรวจพบไม่ถึงขนาดังที่กำหนดไว้ในมาตรา 27(5) จะถือว่าเข้าข่ายเป็นอาหารผิดมาตราฐานตามมาตรา 25(3) ได้แก่ อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตามมาตรา 6(2) หรือ (3) ให้ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ความร้อนที่อุณหภูมิต่ำกว่า 300 องศาเซลเซียส ไม่สามารถทำให้สารละลายไอโอดีนสลายหายไปได้ อ้างอิงผลการศึกษาของสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (การศึกษาของ ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ จะวะสิต และคณะ (2544) ในวารสาร JOURNAL OF FOOD COMPOSITION AND ANALYSIS (2002) 15, 265–276) โดยศึกษาผลของความร้อนในครัวเรือนต่อการสูญเสียไอโอดีน ซึ่งพบว่าความร้อนแบบต่างๆ เช่นการต้ม การนึ่ง การทอด การอบ และการบรรจุกระป๋อง ไม่ได้ทำให้ไอโอดีนสูญหายไป แต่การสูญเสียไอโอดีนนั้นจะขึ้นอยู่กับภาชนะและสารที่ใช้เติมในผลิตภัณฑ์อาหารมากกว่า เช่นการใช้ภาชนะทองเหลือง หรือการเติมสารฟอกขาว พบว่ามีการสูญเสียไอโอดีนมาก แต่ถ้าเป็นอลูมิเนียมหรือแก้วจะไม่สูญเสียไอโอดีน ยกเว้นการเติมกรดบางชนิดลงไป จะทำให้เกิดการสูญเสียได้  และการศึกษาของ รองศาสตราจารย ดร.ครรชิต จุดประสงค์ (2557) ที่ศึกษาเปรียบเทียบการผลิตเกลือบรรจุถุงพร้อมจำหน่ายตั้งทิ้งไว้เป็นระยะเวลา 6 เดือน พบว่าไอโอดีนไม่ได้มีการสูญหายไป ถ้าหากมีการเขย่าถุงก่อนการทดสอบ  โดยถุงที่มีขนาดใหญ่ (5-7 กก.) จะพบว่ามีการไหลของน้ำที่มีไอโอดีนลงจากด้านบนลงสู่ด้านล่างเท่านั้น โดยเฉพาะการนำไปตากแดด  ดังนั้น ก่อนบริโภคหรือนำไปตรวจวิเคราะห์ จึงควรเขย่าหรือคลุกเคล้าให้เข้ากันก่อนนำเกลือไปใช้งานทุกครั้ง

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ​ปัจจุบัน การตรวจสอบปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีนมีเพียงวิธี Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (ICP-MS) เท่านั้น ยังไม่มีวิธีการทดสอบอย่างง่ายที่ผู้ประกอบการสามารถใช้ตรวจสอบเองได้ ผู้ประกอบการจึงจำเป็นต้องส่งผลิตภัณฑ์ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน ณ ห้องปฏิบัติการของภาครัฐ หรือเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 17025

               ทั้งนี้ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้จัดทำ “เครื่องมือช่วยคำนวณการเสริมไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน” เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้ประกอบการสามารถตรวจสอบและคำนวณปริมาณสารละลายโพแทสเซียมไอโอเดตที่ใช้เติมในผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายมีปริมาณไอโอดีนเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย นอกจากนี้ ผู้ประกอบการควรทราบปริมาณไอโอดีนตั้งต้นของหัวเชื้อผลิตภัณฑ์ก่อน เพื่อให้เกิดความแม่นยำในการเสริมไอโอดีนลงในผลิตภัณฑ์
      รายละเอียดตามลิงค์  link.png เลือกที่ เครื่องมือช่วยคำนวณ & คู่มือ

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ การพิจารณาขยายช่วงของปริมาณไอโอดีนที่กำหนดให้มีในผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีนอยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลจากผลศึกษาความเบี่ยงเบนของการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรสฯ โดยได้รับความอนุเคราะห์จากสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และข้อมูลผลการสำรวจสถานการณ์การได้รับไอโอดีนในประชากรทุกกลุ่มวัย โดยกรมอนามัย เพื่อนำข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นเหล่านี้มาประกอบการพิจารณา ทั้งนี้ คาดว่าการพิจารณาดังกล่าวจะดำเนินการแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ.2569

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ​ตอบ การเสริมไอโอดีนในเกลือบริโภคที่เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายนั้น สามารถควบคุมปริมาณไอโอดีนให้อยู่ในช่วงตามข้อกำหนดของกฎหมายได้ง่ายและสะดวกกว่าการต้ม เนื่องจากไอโอดีนจะเกาะอยู่รอบๆ ผลึกเกลือเท่านั้น หลังการต้มเกลือที่ปล่อยให้เกลือแห้งนั้นก็จะทำให้การต้มในแต่ละครั้งมีปริมาณไอโอดีนที่เกาะผลึกเกลือไม่สม่ำเสมอกัน นอกจากนี้การเติมสารโพแทสเซียมไอโอเดตลงไปในระหว่างการต้มเกลือนั้น จะทำให้เกลืออาจเป็นสีเหลืองได้ง่าย เมื่อเก็บเป็นระยะเวลานาน ประกอบกับหากยังไม่ถึงจุดอิ่มตัวที่ทำให้เกิดผลึกของเกลือโซเดียมคลอไรด์ โพแทสเซียมอาจไปเกาะกับคลอไรด์เกิดเป็นโพแทสเซียมคลอไรด์แทนได้ 

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ​สารโพแทสเซียมไอโอเดท (potassium iodate) อนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะเพื่อปรับสภาวะโภชนาการเกี่ยวกับการขาดสารไอโอดีนเท่านั้น ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเห็นชอบ ดังนั้นหากผู้ประกอบการประสงค์จะนำเข้าเพื่อจำหน่ายในวัตถุประสงค์เพื่อปรับสภาวะโภชนาการเกี่ยวกับการขาดสารไอโอดีน โดยนำไปจำหน่ายให้แก่ผู้ผลิตเกลือเสริมไอโอดีนและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน จำเป็นต้องจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งมีหนังสือถึงสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเพื่อขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ 1. บริษัท เคมีเอเซีย จํากัด ราคา 2000 บาท ติดต่อ 083-7115353 หรือ 088-4948181

               2. บริษัท เออีซี เคมเทรด จำกัด ราคา 1900 บาท ติดต่อ 064-6546515

      ข้อมูล ณ วันที่ 22 มิถุนายน 2565

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      12
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup