อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ  วัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้ที่สามารถนำมาผลิตช็อกโกแลต เช่น เนื้อโกโก้บด (Cocoa mass) หรือ โกโก้ข้นเหลว (Cocoa liquor), โกโก้ผง (Cocoa powder), คาเคาผง (Cacao powder), ไขมันโกโก้ (Cocoa butter)

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต หมายความว่า ช็อกโกแลตที่มีการเติมส่วนประกอบอื่นที่เป็นอาหารและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น ถั่ว ลูกเกด ดังนั้นตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต เช่น ช็อกโกแลตนมผสมถั่วอัลมอนด์ รวมถึงช็อกโกแลตสอดไส้ต่าง ๆ เช่น ช็อกโกแลตสอดไส้คาราเมล

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  การเติมไขมันหรือน้ำมันพืชอื่น สามารถทำได้โดยจะต้องมีปริมาณไม่เกินร้อยละ 5 ของน้ำหนักช็อกโกแลต และจะต้องไม่ไปลดทอนปริมาณวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้ซึ่งกำหนดไว้ในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต ทั้งนี้ไขมันหรือน้ำมันพืชอื่นจะต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยน้ำมันและไขมัน หรือน้ำมันหรือไขมันชนิดอื่นที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาพิจารณาอนุญาต

              ตัวอย่างเช่น: ช็อกโกแลตผสมถั่วอัลมอนด์ a คำนวณปริมาณไขมันหรือน้ำมันพืชอื่นต่อน้ำหนักของช็อกโกแลต ไม่รวมถั่วอัลมอนด์ โดยจะต้องมีปริมาณไม่เกินร้อยละ 5 ของน้ำหนักช็อกโกแลต

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ช็อกโกแลตกลุ่มจิอานดูจา ได้แก่ ช็อกโกแลตจิอานดูจา (Gianduja Chocolate) และช็อกโกแลตนมจิอานดูจา (Gianduja Milk Chocolate) หมายถึง ช็อกโกแลตหรือช็อกโกแลตนมที่มีส่วนประกอบของเฮเซลนัทบดละเอียด ซึ่งจะต้องมีปริมาณวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้และปริมาณเฮเซลนัทบดละเอียดตามที่กำหนดไว้ในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต (ข้อ (10) หรือ (11) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566) ทั้งนี้อาจมีการเติมนัทชนิดต่าง ๆ เช่น อัลมอนด์ เฮเซลนัท ทั้งเมล็ดหรือเมล็ดหักเพิ่มเติม โดยปริมาณที่รวมกับเฮเซลนัทบดละเอียดแล้วไม่มากกว่าร้อยละ 60 ของปริมาณช็อกโกแลตทั้งหมด

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ช็อกโกแลตกลุ่มอะลาทาซา ได้แก่ ช็อกโกแลตอะลาทาซา (Chocolate a la taza)  และช็อกโกแลตอะลาทาซา ชนิดหวาน (Chocolate familiar a la taza) หมายถึง ช็อกโกแลตหรือช็อกโกแลตชนิดหวานที่มีส่วนประกอบของแป้งหรือสตาร์ชที่ได้จากข้าวสาลี ข้าวโพด หรือข้าว ซึ่งจะต้องมีปริมาณวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้และปริมาณแป้งหรือสตาร์ชตามที่กำหนดไว้ในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต  (ข้อ (3) หรือ (4) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566) ทั้งนี้สตาร์ชที่อนุญาตให้ใช้ มิได้หมายความรวมถึงสตาร์ชดัดแปร (modified starch) ซึ่งถูกพิจารณาเป็นวัตถุเจือปนอาหารและจะต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ช็อกโกแลตกลุ่มพารามีซา ได้แก่ ช็อกโกแลตพารามีซา (Chocolate para mesa), ช็อกโกแลตพารามีซา ชนิดขมเล็กน้อย (Semi-bitter chocolate para mesa) และช็อกโกแลตพารามีซา ชนิดขม (Bitter chocolate para mesa) หมายถึง ช็อกโกแลตที่มีส่วนประกอบของน้ำตาลที่มีขนาดใหญ่กว่า 70 ไมครอน ซึ่งจะต้องมีปริมาณวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้และปริมาณน้ำตาลที่มีขนาดใหญ่กว่า 70 ไมครอน ตามที่กำหนดไว้ในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต (ข้อ (12) หรือ (13) หรือ (14) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566)

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  พราลีน (Praline) หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตที่มีขนาดพอดีคำ (a single mouthful size) มีส่วนประกอบของช็อกโกแลตอย่างใดอย่างหนึ่งหรือรวมกัน โดยต้องมีส่วนประกอบของเนื้อช็อกโกแลต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของน้ำหนักรวมของผลิตภัณฑ์

      พราลีน (Praline) a ขนาดพอดีคำ + เนื้อช็อกโกแลตไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของน้ำหนัก

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  โกโก้ทั้งหมด (Total Cocoa Solids) หมายถึง ปริมาณรวมของโกโก้ปราศจากไขมัน (Fat-free Cocoa Solids) และไขมันโกโก้ (Cocoa Butter) โดยอาจพิจารณาจากปริมาณรวมของวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้ที่นำมาผลิตช็อกโกแลต เช่น เนื้อโกโก้บด (Cocoa mass) หรือ โกโก้ข้นเหลว (Cocoa liquor), โกโก้ผง (Cocoa powder), คาเคาผง (Cacao powder), ไขมันโกโก้ (Cocoa butter) 

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  เนื้อนม (Total Milk Solids) หมายถึง ปริมาณรวมของไขมันนมหรือมันเนย (Milk Fat) และ ธาตุน้ำนมไม่รวมมันเนย (non-fat milk solids) โดยอาจพิจารณาจากปริมาณรวมของนมและองค์ประกอบของนมที่นำมาผลิตช็อกโกแลต เช่น นม รวมถึงนมที่มีการปรับปริมาณไขมันนมหรือมันเนย (นมพร่องมันเนย นมขาดมันเนย ครีม) และองค์ประกอบของนม (เช่น โปรตีนนม น้ำตาลแลคโตส) ทั้งนี้ไม่รวมส่วนที่เป็นน้ำ หรือตรวจวิเคราะห์ของแข็งทั้งหมดในนม (Total Milk Solids) ซึ่งมีระบุไว้ในวิธีมาตรฐานสำหรับการตรวจวิเคราะห์อาหารของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  1. ไม่อนุญาตให้เติมแป้งหรือสตาร์ช* และไขมันสัตว์ที่ไม่ใช่ไขมันนม

      *ยกเว้นช็อกโกแลตกลุ่มอะลาทาซา (Chocolate a la taza) สามารถเติมแป้งหรือสตาร์ชที่ได้จากข้าวสาลี ข้าวโพด หรือข้าว ได้ไม่เกินปริมาณที่กำหนดในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

             2. ไม่อนุญาตให้ใช้วัตถุแต่งกลิ่นรสช็อกโกแลตและนม

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      12
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup