อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย
      • กระบวนการผลิตอาหาร
      • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   คุณภาพและมาตรฐานของน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง

      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 61) พ.ศ. 2524 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม คือ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 135) พ.ศ. 2534 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่่ 2) และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2553
      • รวมถึงคุณภาพหรือมาตรฐานเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่่ทำให้เกิดโรค ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 416) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง กำหนดคุณภาพ หรือมาตรฐาน หลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการในการตรวจวิเคราะห์ ของอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค

               ซึ่งมีความแตกต่างกับคุณภาพมาตรฐานของน้ำใช้ในโรงงาน โดยต้องมีคุณภาพเหมาะสมตามวัตถุประสงค์ของการใช้ เช่น น้ำล้างภาชนะ ควรเป็นน้ำสะอาด ไม่มีเชื้อโรค ตามที่กำหนดไว้ใน GMP 420 ข้อกำหนดพื้นฐาน หมวดที่ 4 หัวข้อ "น้ำใช้"

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

       

      ตอบ   หากเดิมได้รับอนุญาตชื่ออาหารเป็น "น้ำแร่ธรรมชาติจากแหล่ง... ตรา..." ผู้ผลิตไม่จำเป็นต้องแก้ไขชื่ออาหาร ซึ่งข้อกำหนดเรื่องชื่ออาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับใหม่ บังคับชื่ออาหาร
           "น้ำแร่ธรรมชาติ" โดยไม่บังคับให้ต้องระบุแหล่งที่มาหลังชื่ออาหาร ดังนั้น สามารถระบุแหล่งที่มาในบริเวณส่วนใดส่วนหนึ่งของฉลากได้ คำอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องสามารถเพิ่มเติมได้ หากชื่อเดิมมีคำว่า "น้ำแร่ธรรมชาติ" สามารถใช้ชื่อเดิมได้

               * ปัจจุบันยังบังคับใช้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 199) พ.ศ. 2543 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 454) พ.ศ. 2567 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ จะมีผลบังคับใช้วันที่ 10 เมษายน 2568 เป็นต้นไป

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   สามารถทำได้

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   สามารถใช้ชุดทดสอบความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) ซึ่งมีจำหน่ายโดยทั่วไป ค่าความกระด้างทั้งหมด เป็นการวัดรวมทั้ง 2 สาร คือ ค่าแคลเซียมและค่าแมกนีเซียม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของชุดทดสอบ  
                อย่างไรก็ตาม ในสถานที่ผลิตน้ำบริโภคฯ หรือน้ำแข็งบริโภค ต้องมีชุดทดสอบอย่างน้อย 3 ชนิดเพื่อใช้ในการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐาน คือ

      1. เครื่องวัดค่าพีเอช (pH) หรือค่าความเป็นกรดด่างของน้ำ โดยมาตรฐานกำหนดค่าพีเอชของน้ำบริโภค
        อยู่ที่ 6.5 - 8.5 กรณีกระบวนการผลิตเป็นการปรับสภาพน้ำด้วยระบบการผลิตน้ำอาร์โอ (Reverse Osmosis ; RO) หากน้ำดิบมีค่าพีเอชต่ำกว่า 6.5 ต้องมีการปรับค่าพีเอชให้มากกว่า 6.5 เนื่องจากเมื่อผ่านกระบวนการกรองด้วยระบบอาร์โอ ค่าพีเอชของน้ำจะลดต่ำลง
      2. ชุดทดสอบปริมาณคลอรีนคงเหลือ ตรวจวัดปริมาณคลอรีนในการปรับสภาพน้ำดิบเบื้องต้นและใช้ในการตรวจสอบประสิทธิภาพของสารกรองคาร์บอน
      3. ชุดทดสอบความกระด้าง หรือ Total Hardness เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดิบ และใช้ในการตรวจสอบ ประสิทธิภาพของสารกรองเรซิน

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   น้ำบริโภคฯ ที่กรองด้วยระบบอาร์โอซึ่งมีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ สามารถดื่มได้ มีความปลอดภัยต่อการบริโภค 

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   ผู้ผลิตน้ำแร่ธรรมชาติสามารถปรับฉลากให้ตรงตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับใหม่ได้มีกรณีเดียวที่ต้องยื่นขอแก้ไข ได้แก่ กรณีน้ำผุดหรือสปริงวอเตอร์ (spring water) ซึ่งได้รับอนุญาตเป็นน้ำแร่ธรรมชาติไว้ก่อนการแก้ไขประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 199) พ.ศ. 2543 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ ซึ่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 454) พ.ศ. 2567 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติได้จัดประเภทน้ำผุดหรือสปริงวอเตอร์ (spring water) ใหม่เป็น “น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท” ซึ่งมีผลบังคับใช้ภายใน 2 ปี นับจากวันที่ประกาศใหม่ใช้บังคับ ผู้ผลิตจึงต้องดำเนินการดังนี้

        • ยังคงจำหน่ายเป็นน้ำแร่ธรรมชาติต่อไปได้ แต่ต้องไม่เกิน 2 ปี
        • ต้องยื่นคำขอแก้ไขรายการให้ถูกต้องตามประกาศว่าด้วยน้ำบริโภคฯ ภายใน 2 ปี และเมื่อยื่นคำขอแก้ไข ให้แสดงข้อมูลชนิดของแร่ธาตุสำคัญ ส่วนประกอบหรือองค์ประกอบทางเคมีอื่น เพื่อบ่งชี้เอกลักษณ์ของแหล่งน้ำ พร้อมทั้งระบุแหล่งกำเนิดน้ำบนฉลาก

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 61) พ.ศ. 2524 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท กำหนดคุณภาพมาตรฐานค่าพีเอชอยู่ในช่วง 6.5 - 8.5 โดยสามารถศึกษาจากคู่มือผู้ควบคุมการผลิต น้ำบริโภคฯ ในบทที่ 4 เพิ่มเติม

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   ความถี่ในการฟื้นฟูสภาพสารกรองเรซินด้วยเกลือ ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของสารกรองเรซิน ปริมาณการผลิต คุณภาพน้ำดิบ แต่ละโรงงานต้องพิจารณาจากผลการตรวจสอบความกระด้างของน้ำ หลังออกจากสารกรองเรซิน ว่าควรมีความถี่ในการฟื้นสภาพด้วยน้ำเกลืออย่างไร 

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   ชนิดของน้ำแร่ธรรมชาติ ในชื่อภาษาอังกฤษ ให้ใช้ตามที่ระบุไว้ในข้อ 4 ของ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 454) พ.ศ. 2567 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   

      • ผลิตภัณฑ์น้ำบริโภคฯ ต้องมีคุณภาพมาตรฐานที่สอดคล้องตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 61) พ.ศ. 2524 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม คือ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 135) พ.ศ. 2534 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่่ 2) และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2553
      • น้ำแข็งบริโภคฯ ต้องมีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 78) (พ.ศ.2527) เรื่อง น้ำแข็ง และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้แก่ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 137) พ.ศ. 2534 เรื่อง น้ำแข็ง (ฉบับที่ 2)
      • น้ำแร่ธรรมชาติ ต้องมีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 454) พ.ศ. 2567 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ

           ทั้งนี้ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์กองอาหาร หัวข้อ กฎหมายอาหาร

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      1234
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup