อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ไม่ต้องแสดงข้อความดังกล่าวกำกับไว้ เนื่องจากโอเมก้า ไม่มีเกณฑ์การกล่าวอ้างปริมาณ แต่เป็นการแสดงชนิดและปริมาณตามข้อเท็จจริงของผลิตภัณฑ์

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   กรณีตามตัวอย่างดังกล่าวต้องแสดงข้อความกล่าวอ้าง “เป็นแหล่งของ” ไม่สามารถแสดงข้อความกล่าวอ้าง “สูง” ได้ เนื่องจากเงื่อนไขของการกล่าวอ้างทุกกรณีต้องเป็นไปตามเงื่อนไขทั้ง 2 หน่วย

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   1. กรณีกล่าวอ้าง “ลดปริมาณน้ำตาลลง”

      ตัวอย่างอาหาร : เครื่องดื่มรสช็อกโกแลต สูตรลดน้ำตาล มีน้ำตาลทั้งหมด 5 กรัม ต่อหนึ่งหน่วยบริโภคที่แสดงบนฉลาก 225 มิลลิลิตร และเครื่องดื่มสูตรอ้างอิง  มีน้ำตาลทั้งหมด 14 กรัม ต่อหนึ่งหน่วยบริโภคที่แสดงบนฉลาก 250 มิลลิลิตร

      หนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิงของเครื่องดื่ม : 200 มิลลิลิตร

      เกณฑ์การกล่าวอ้าง “ลดปริมาณลง”: ลดปริมาณน้ำตาลลงตั้งแต่ร้อยละ 25 ขึ้นไป เมื่อเทียบกับอาหารอ้างอิง ต่อปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิง และต่อปริมาณที่กินต่อครั้งที่แสดงบนฉลาก

      การคำนวณ 

      1) คำนวณต่อปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิง

      1.1 เทียบปริมาณน้ำตาลของแต่ละสูตรให้อยู่ในหน่วยบริโภคอ้างอิง (200 มิลลิลิตร):

      - สูตรลดน้ำตาล มีปริมาณน้ำตาล 4.4 กรัม ต่อ 200 มิลลิลิตร

      - สูตรอ้างอิง มีปริมาณน้ำตาล 11.2 กรัม ต่อ 200 มิลลิลิตร

      1.2 หาปริมาณน้ำตาลที่ลดลงจากสูตรอ้างอิง = 11.2-4.4 = 6.8 กรัม

      1.3 คำนวณเทียบเป็นร้อยละ = (6.8/11.2) * 100 = ร้อยละ 61  >> ผ่านเงื่อนไข

      2) คำนวณต่อปริมาณที่กินต่อครั้งที่แสดงบนฉลาก

      2.1 เทียบปริมาณน้ำตาลของสูตรลดน้ำตาลให้อยู่ในหน่วยเดียวกับปริมาณที่กินต่อครั้งที่แสดงบนฉลากของอาหารอ้างอิง (250 มิลลิลิตร) = 5.6 กรัม

      2.2 หาปริมาณน้ำตาลที่ลดลงจากสูตรอ้างอิง = 14-5.6 = 8.4 กรัม

      2.3 คำนวณเทียบเป็นร้อยละ = (8.4/14) * 100 = ร้อยละ 60  >> ผ่านเงื่อนไข

       

      3) ตัวอย่างข้อความกล่าวอ้าง: “ลดปริมาณน้ำตาลลง” ต้องกำกับด้วยข้อความว่า “ลดปริมาณน้ำตาลลง 60% เทียบกับเครื่องดื่มรสช็อคโกแลตสูตรปกติ เครื่องดื่มรสช็อคโกแลตสูตรลดน้ำตาลลง มีน้ำตาล 5 ก. เครื่องดื่มรสช็อคโกแลตสูตรปกติ มีน้ำตาล 14 ก. ต่อการกินหนึ่งครั้ง”

      2. กรณีกล่าวอ้าง “เพิ่ม/เสริมแคลเซียม”

      ตัวอย่างอาหาร: ไอศกรีมนม สูตรเสริมแคลเซียม มีแคลเซียม 360 มิลลิกรัม ต่อหนึ่งหน่วยบริโภคที่แสดงบนฉลาก 65 กรัม และสูตรอ้างอิง  มีแคลเซียม 150 กรัม ต่อหนึ่งหน่วยบริโภคที่แสดงบนฉลาก 65 กรัม

      หนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิงของไอศกรีม: 80 กรัม

      เกณฑ์การกล่าวอ้าง “เพิ่ม/เสริม”: มีสารอาหารที่จะกล่าวอ้างอยู่ในปริมาณที่สูงกว่าระดับที่มีอยู่ในอาหารอ้างอิง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ Thai RDIs

      การคำนวณ 

      1) คำนวณต่อปริมาณหนึ่งหน่วยบริโภคอ้างอิง

      1.1 เทียบปริมาณแคลเซียมของแต่ละสูตรให้อยู่ในหน่วยบริโภคอ้างอิง (80 กรัม):

      - สูตรเสริมแคลเซียม มีปริมาณแคลเซียม 443 มิลลิกรัม ต่อ 80 กรัม

      - สูตรอ้างอิง มีปริมาณแคลเซียม 185 มิลลิกรัม ต่อ 80 มิลลิลิตร

      1.2 หาปริมาณแคลเซียมที่เพิ่มขึ้นจากสูตรอ้างอิง = 443-185 = 258 มิลลิกรัม

      1.3 คำนวณปริมาณที่เพิ่มขึ้นเทียบเป็นร้อยละของ Thai RDIs = (258/1000)*100 = ร้อยละ 25.8  >> ผ่านเงื่อนไข

      2) คำนวณต่อปริมาณที่กินต่อครั้งที่แสดงบนฉลาก

      2.1 หาปริมาณแคลเซียมที่เพิ่มขึ้นจากสูตรอ้างอิง = 360-150 = 210 มิลลิกรัม

      2.3 คำนวณปริมาณที่เพิ่มขึ้นเทียบเป็นร้อยละของ Thai RDIs = (210/1000)*100 = ร้อยละ 21 >> ผ่านเงื่อนไข

      3) ตัวอย่างข้อความกล่าวอ้าง: “เสริมแคลเซียม” ต้องกำกับด้วยข้อความว่า “เสริมแคลเซียมเพิ่มขึ้นร้อยละ 21 เทียบกับไอศกรีมนมสูตรปกติ ไอศกรีมสูตรเสริมแคลเซียม มีแคลเซียม 360 มิลลิกรัม ไอศกรีมสูตรปกติ มีแคลเซียม 150มิลลิกรัม ต่อการกินหนึ่งครั้ง 65 กรัม”

       

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   การแสดงข้อมูลเปรียบเทียบของผลิตภัณฑ์กับอาหารอ้างอิง สามารถแสดงได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้

          1. “ลดปริมาณโซเดียมลง 30% เทียบกับซอสปรุงรสสูตรปกติ ซอสปรุงรสชนิดโซเดียมน้อย มีโซเดียม 280 มก. ต่อ 30 มล. ซอสปรุงรสสูตรปกติมีโซเดียม 400 มก. ต่อ 30 มล.”
          2. “ลดปริมาณโซเดียมลง 30% เทียบกับซอสปรุงรสสูตรปกติในตลาดที่มีโซเดียม 400 มก. ต่อ 30 มล. ซอสปรุงรสชนิดโซเดียมน้อย มีโซเดียม 280 มก. ต่อ 30 มล.”

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   สามารถใช้ข้อมูลปริมาณสารอาหารที่แสดงในกรอบข้อมูลโภชนาการบนฉลากอาหารอ้างอิงมาคำนวณเปรียบเทียบตามเงื่อนไขของการกล่าวอ้างได้ โดยผู้ประกอบการต้องจัดทำข้อมูลและเก็บรวบรวมหลักฐานไว้ ณ สถานที่ผลิต สำหรับประกอบการชี้แจงและตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ ทั้งนี้ การกำหนดผลิตภัณฑ์ 3 ลำดับแรกหรือตัวแทนของผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายในท้องตลาด สามารถใช้ข้อมูลทางการตลาดจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เป็นที่ยอมรับได้ เช่น บริษัทสำรวจข้อมูลการตลาด หรือกระทรวงพาณิชย์ เป็นต้น

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   “น้ำตาลแลคโตส” จัดเป็น “น้ำตาลที่เติม (added sugars)”

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   สามารถแสดงเป็นปริมาณที่กินต่อครั้งตามปริมาณจริงที่ผู้ประกอบการแนะนำ หรือต่อ 100 กรัม หรือ 100 มิลลิลิตร

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   “น้ำตาลที่เติม (added sugars)” หมายถึง น้ำตาลที่เติมในระหว่างกระบวนการผลิตหรือบรรจุ ซึ่งรวมถึง น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวและโมเลกุลคู่ น้ำตาลจากน้ำเชื่อมและน้ำผึ้ง และน้ำตาลจากน้ำผักหรือน้ำผลไม้เข้มข้นที่เกินจากน้ำผักหรือน้ำผลไม้ 100% ที่เป็นชนิดเดียวกันในปริมาณที่เท่ากัน ตัวอย่างเช่น น้ำตาลทราย น้ำตาลทรายแดง น้ำตาลซูโครส น้ำตาลฟรุกโตส น้ำตาลมอลโตส น้ำตาลกลูโคส น้ำตาลเด็กซ์โทรส น้ำตาลแลคโตส น้ำผึ้ง น้ำเชื่อมข้าวโพด (corn syrup) น้ำเชื่อมฟรุกโตส (fructose syrup / high-fructose corn syrup) น้ำผลไม้เข้มข้น น้ำตาลมอลต์ กากน้ำตาล น้ำตาลทรายดิบ (raw sugar) น้ำตาลอินเวอร์ส (invert sugar) น้ำตาลทรีฮาโลส (trehalose) เป็นต้น ทั้งนี้ ไม่รวมถึง นมที่มีน้ำตาลตามธรรมชาติ ผักและผลไม้ เช่น ผลไม้อบแห้ง ผลไม้ทั้งผลหรือชิ้น น้ำผลไม้ 100% (single strength juice)

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   ได้ แต่ต้องเป็นค่าที่ใกล้เคียงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   โดยทั่วไปแล้วการหาจำนวนครั้งที่กินได้ต่อภาชนะบรรจุ คำนวณโดยการหารปริมาณส่วนที่กินได้ทั้งหมดในภาชนะบรรจุนั้นด้วยปริมาณที่กินต่อครั้งตามความเหมาะสมของลักษณะหรือรูปแบบผลิตภัณฑ์ ดังนั้น กรณีดังกล่าวสามารถคำนวณโดยใช้ปริมาณที่กินต่อครั้งในหน่วยทั่วไป (5 เม็ด) หารด้วยจำนวนเม็ดทั้งหมดในภาชนะบรรจุ (100 เม็ด)

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      2223242526
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup