อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ  ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 10) มีความเห็นในประเด็นการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับน้ำต้มของใบของพืชกระท่อม เรื่องเสร็จที่ 282/2567 ให้ความเห็นว่ากรณีน้ำต้มใบของพืชกระท่อมที่ได้จากการต้มใบกระท่อมกับน้ำโดยไม่มีการปรุงหรือผสมสิ่งอื่นหรือไม่ได้ใช้น้ำต้มใบของพืชกระท่อมเพื่อเป็นวัตถุดิบหรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามกฎหมายว่าด้วยผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยาตามกฎหมายว่าด้วยยา อาหารตามกฎหมายว่าด้วยอาหาร เครื่องสำอางตามกฎหมายว่าด้วยเครื่องสำอาง หรือผลิตภัณฑ์อื่นใดตามที่กฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้ น้ำต้มใบของพืชกระท่อมนั้นจะต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติพืชกระท่อม พ.ศ. 2565

              กรณีที่มีการใช้ใบกระท่อม พืชกระท่อม น้ำต้มใบกระท่อมเป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์และมีสรรพคุณเพื่อการบำบัด รักษา และบรรเทาความเจ็บป่วยของมนุษย์ หรือป้องกันโรค หรือเพื่อให้เกิดผลต่อสุขภาพหรือการทำงานของร่างกายให้ดีขึ้น เสริมสร้างโครงสร้างหรือการทำงานของร่างกาย หรือลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค เช่นนี้ถือว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจัดเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามมาตรา 4(1) หรือ (2) แห่งพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  น้ำต้มใบกระท่อม จะไม่จัดเป็นอาหารตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 10) มีความเห็นในประเด็นการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับน้ำต้มของใบของพืชกระท่อม เรื่องเสร็จที่ 282/2567 ให้ความเห็นว่าน้ำต้มใบของพืชกระท่อมที่ได้จากการต้มใบกระท่อมกับน้ำโดยไม่มีการปรุงหรือผสมสิ่งอื่นหรือ ไม่ได้ใช้น้ำต้มใบของพืชกระท่อมเพื่อเป็นวัตถุดิบหรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามกฎหมายว่าด้วยผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยาตามกฎหมายว่าด้วยยา อาหารตามกฎหมายว่าด้วยอาหาร เครื่องสำอางตามกฎหมายว่าด้วยเครื่องสำอาง หรือผลิตภัณฑ์อื่นใดตามที่กฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้ น้ำต้มใบของพืชกระท่อมนั้นจะต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติพืชกระท่อม พ.ศ. 2565 แต่หากเป็นกรณีนำพืชกระท่อมทั้งต้นหรือสารสกัดมาเป็นส่วนผสมในอาหาร จะจัดเป็นอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  ตามความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 282/2567 เรื่อง การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับน้ำต้มใบของพืชกระท่อมระบุว่า ในการพิจารณาว่าน้ำต้มใบของพืชกระท่อมอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายใด จะต้องพิจารณาว่าเป็นการใช้น้ำต้มใบของพืชกระท่อมเพื่อวัตถุประสงค์ใด โดยแบ่งเป็นกรณีดังนี้

                (1) ผลิตไว้เพื่อรับประทานเอง โดยมิได้จำหน่ายต่อบุคคลอื่น ไม่จัดเป็นผลิตภัณฑ์ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

                (2) ผลิตไว้เพื่อขายซึ่งบรรจุในบรรจุภัณฑ์ เช่น ขวด ถุงพลาสติก โดยมีหรือไม่มีการกล่าวอ้างสรรพคุณว่าส่งผลต่อร่างกาย บำบัด บรรเทา หรือรักษาโรค ไม่จัดเป็นอาหารตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522

                (3) กรณีอาหารที่มีส่วนผสมของพืชกระท่อมหรือสารสกัด เป็นอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย ซึ่งการระบุลักษณะดังกล่าวหมายถึงการนำกระท่อมทั้งต้นหรือสารสกัด มาใช้เป็นวัตถุดิบหรือใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาหาร แต่หากเป็นน้ำต้มใบกระท่อมตามข้อ (2) จะไม่จัดเป็นอาหารตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522

                ทั้งนี้ ปัจจุบันยังไม่ได้มีการออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขตามมาตรา 25 (4) แต่อย่างใด

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  ตามความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 282/2567 เรื่อง การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับน้ำต้มใบของพืชกระท่อม ระบุว่า ในการพิจารณาว่าน้ำต้มใบของพืชกระท่อมอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายใด จะต้องพิจารณาว่าเป็นการใช้น้ำต้มใบของพืชกระท่อมเพื่อวัตถุประสงค์ใด และกรณีน้ำต้มของใบกระท่อมไม่มีการปรุงหรือใช้เป็นส่วนผสมหรือใช้เป็นวัตถุดิบผลิตภัณฑ์ใด ๆ ตามกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้ น้ำต้มใบกระท่อมจะอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติพืชกระท่อม พ.ศ. 2565

                กรณีน้ำต้มใบกระท่อมหรือใบกระท่อมที่นำมาใช้เป็นวัตถุดิบหรือส่วนประกอบในอาหารจะเข้าข่ายเป็นผลิตภัณฑ์อาหารตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ซึ่งผู้ที่ประสงค์จะผลิตอาหารที่มีส่วนน้ำต้ม ใบกระท่อมหรือใบกระท่อม จะต้องยื่นขอประเมินความปลอดภัยเป็นอาหารใหม่ (Novel food) เพื่อประเมินความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารตามเงื่อนไขของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 376) พ.ศ. 2559 เรื่อง อาหารใหม่ (Novel food) หรือเป็นการผลิตเพื่อการส่งออกเท่านั้น

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  ตามมาตรา 6(2) และ 6(3) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของอาหาร ซึ่งรวมทั้งความหมายของอาหารแต่ละประเภท การพิจารณารายละเอียด หรือเจตนารมณ์ในการนำไปใช้ จึงต้องพิจารณาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเป็นกรณี ๆ ไป ดังนี้

                1. วัตถุเจือปนอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 281) พ.ศ. 2547 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร กำหนดนิยามตามข้อ 3 ระบุว่า “วัตถุเจือปนอาหาร หมายความว่า วัตถุที่ตามปกติมิได้ใช้เป็นอาหารหรือเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร ไม่ว่าวัตถุนั้นจะมีคุณค่าทางอาหารหรือไม่ก็ตาม แต่ใช้เจือปนในอาหารเพื่อประโยชน์ทางเทคโนโลยีการผลิต การแต่งสีอาหาร การปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร การบรรจุ การเก็บรักษา หรือการขนส่ง ซึ่งมีผลต่อคุณภาพหรือมาตรฐานหรือลักษณะของอาหาร ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึงวัตถุที่มิได้เจือปนในอาหาร แต่มีภาชนะบรรจุไว้เฉพาะแล้วใส่รวมอยู่กับอาหารเพื่อประโยชน์ดังกล่าวข้างต้นด้วย เช่น วัตถุกันชื้น วัตถุดูดออกซิเจน เป็นต้น

                ความมุ่งหมายใช้เพื่อเป็นวัตถุเจือปนอาหาร จะต้องเป็นไปตามหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งตามกลุ่มหน้าที่ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตที่กำหนดไว้ในประกาศฯ

                2. สีจัดเป็นวัตถุเจือปนอาหาร

                3. เครื่องปรุงรส เจตนารมณ์หมายถึง วัตถุแต่งกลิ่นรส ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 223) พ.ศ. 2544 เรื่อง วัตถุแต่งกลิ่นรส กำหนดนิยามตามข้อ 3 ระบุว่า วัตถุแต่งกลิ่นรส หมายความว่า วัตถุที่นำมาใช้แต่งกลิ่นหรือรสของอาหาร ไม่ใช่ เครื่องปรุงรส ตามที่พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายว่า หมายถึง  สิ่งที่ใช้ปรุงแต่งรสอาหาร เช่น น้ำตาล น้ำปลา เกลือ

                ความมุ่งหมายใช้เพื่อแต่งกลิ่นรส มิได้ใช้เป็นส่วนประกอบหลักในผลิตภัณฑ์ แต่เพื่อเติมแต่งให้มีกลิ่นรสเป็นไปตามความพอใจของผู้บริโภค

                กรณีน้ำต้มใบกระท่อม ซึ่งมีส่วนประกอบหลักคือ ใบกระท่อม และน้ำ ควรมีข้อมูลประกอบการพิจารณาเพิ่มเติม เกี่ยวกับน้ำใบกระท่อม เช่น คุณสมบัติ ประโยชน์ในทางอาหาร สารสำคัญ

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  ใช่ เนื่องจากเจตนารมณ์ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 424) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง กำหนดอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคจากการบริโภคอาหารตามมาตรา 4 ซึ่งรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงรส แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษ ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี เนื่องจากปรากฏหลักฐานและเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ว่า สารประกอบหรือกลุ่มสารประกอบในพืช สัตว์ หรือส่วนของพืชหรือสัตว์บางชนิด ที่กำหนดตามบัญชีท้ายประกาศฯ ไม่ปลอดภัยต่อการบริโภค และไม่ควรนำมาใช้เป็นส่วนผสมในอาหารเพื่อบริโภค ประกอบกับกระท่อมไม่มีประวัติการใช้เป็นอาหารรวมถึงยังไม่มีความชัดเจนในวัตถุประสงค์หรือสภาพของการนำกระท่อมทั้งต้น (whole plant) และสารสกัด (Extracts) ไปใช้ ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนผสมของกระท่อม ต้องประเมินความปลอดภัยก่อนการขออนุญาต

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  อาหารที่มีส่วนผสมจากพืชกระท่อม เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลำต้น และสารสกัดจากพืชกระท่อม จัดเป็นอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 430) พ.ศ. 2564 ออกตามความในตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่องแก้ไขเพิ่มเติมประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 424) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง กำหนดอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย

                ยกเว้น อาหารที่มีส่วนผสมจากพืชกระท่อมและสารสกัดจากพืชกระท่อมที่ผ่านการประเมินความปลอดภัยของอาหาร และส่งมอบฉลากให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาตรวจอนุมัติก่อนนำไปใช้ ตามเงื่อนไขของประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาหารใหม่ (Novel food) หรือที่ผลิตเพื่อการส่งออกเท่านั้น

              ทั้งนี้ มีรายละเอียดคุณภาพหรือเงื่อนไขที่ผ่านการประเมินความปลอดภัยแล้ว ตามแนวทางการพิจารณาอนุญาตใบกระท่อมบดผง หรือสารสกัดจากใบกระท่อมด้วยน้ำหรือเอทานอลเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร  https://food.fda.moph.go.th/for-entrepreneurs/guidelines-kratom/

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  พืชกระท่อมไม่เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุยาเสพติดให้โทษประเภท 5 พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2565 เป็นต้นไป ซึ่งไม่มีการระบุให้พืชกระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ในประกาศดังกล่าว

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ   ไม่ต้องแสดงข้อความ

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      ตอบ   ใช่ ตัวอย่างเช่น หากวิตามินและแร่ธาตุที่แสดงในกรอบข้อมูลโภชนาการของต่างประเทศเป็นปริมาณไม่มีนัยสำคัญ ตามเงื่อนไขของประกาศฯ ฉบับที่ 445 ดังนั้น จึงไม่ต้องแสดงในกรอบข้อมูลโภชนาการภาษาไทย

       

      link.png   ฉลากโภชนาการ

      45678
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup