อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ผู้ผลิตน้ำแร่ธรรมชาติสามารถปรับฉลากให้ตรงตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับใหม่ได้มีกรณีเดียวที่ต้องยื่นขอแก้ไข ได้แก่ กรณีน้ำผุดหรือสปริงวอเตอร์ (spring water) ซึ่งได้รับอนุญาตเป็นน้ำแร่ธรรมชาติไว้ก่อนการแก้ไขประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 199) พ.ศ. 2543 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ ซึ่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 454) พ.ศ. 2567 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติได้จัดประเภทน้ำผุดหรือสปริงวอเตอร์ (spring water) ใหม่เป็น “น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท” ซึ่งมีผลบังคับใช้ภายใน 2 ปี นับจากวันที่ประกาศใหม่ใช้บังคับ ผู้ผลิตจึงต้องดำเนินการดังนี้

        • ยังคงจำหน่ายเป็นน้ำแร่ธรรมชาติต่อไปได้ แต่ต้องไม่เกิน 2 ปี
        • ต้องยื่นคำขอแก้ไขรายการให้ถูกต้องตามประกาศว่าด้วยน้ำบริโภคฯ ภายใน 2 ปี และเมื่อยื่นคำขอแก้ไข ให้แสดงข้อมูลชนิดของแร่ธาตุสำคัญ ส่วนประกอบหรือองค์ประกอบทางเคมีอื่น เพื่อบ่งชี้เอกลักษณ์ของแหล่งน้ำ พร้อมทั้งระบุแหล่งกำเนิดน้ำบนฉลาก

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   น้ำบริโภคฯ ที่กรองด้วยระบบอาร์โอซึ่งมีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ สามารถดื่มได้ มีความปลอดภัยต่อการบริโภค 

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   สามารถใช้ชุดทดสอบความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) ซึ่งมีจำหน่ายโดยทั่วไป ค่าความกระด้างทั้งหมด เป็นการวัดรวมทั้ง 2 สาร คือ ค่าแคลเซียมและค่าแมกนีเซียม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของชุดทดสอบ  
                อย่างไรก็ตาม ในสถานที่ผลิตน้ำบริโภคฯ หรือน้ำแข็งบริโภค ต้องมีชุดทดสอบอย่างน้อย 3 ชนิดเพื่อใช้ในการตรวจเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐาน คือ

      1. เครื่องวัดค่าพีเอช (pH) หรือค่าความเป็นกรดด่างของน้ำ โดยมาตรฐานกำหนดค่าพีเอชของน้ำบริโภค
        อยู่ที่ 6.5 - 8.5 กรณีกระบวนการผลิตเป็นการปรับสภาพน้ำด้วยระบบการผลิตน้ำอาร์โอ (Reverse Osmosis ; RO) หากน้ำดิบมีค่าพีเอชต่ำกว่า 6.5 ต้องมีการปรับค่าพีเอชให้มากกว่า 6.5 เนื่องจากเมื่อผ่านกระบวนการกรองด้วยระบบอาร์โอ ค่าพีเอชของน้ำจะลดต่ำลง
      2. ชุดทดสอบปริมาณคลอรีนคงเหลือ ตรวจวัดปริมาณคลอรีนในการปรับสภาพน้ำดิบเบื้องต้นและใช้ในการตรวจสอบประสิทธิภาพของสารกรองคาร์บอน
      3. ชุดทดสอบความกระด้าง หรือ Total Hardness เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดิบ และใช้ในการตรวจสอบ ประสิทธิภาพของสารกรองเรซิน

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   สามารถทำได้

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   หากเดิมได้รับอนุญาตชื่ออาหารเป็น "น้ำแร่ธรรมชาติจากแหล่ง... ตรา..." ผู้ผลิตไม่จำเป็นต้องแก้ไขชื่ออาหาร ซึ่งข้อกำหนดเรื่องชื่ออาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับใหม่ บังคับชื่ออาหาร
           "น้ำแร่ธรรมชาติ" โดยไม่บังคับให้ต้องระบุแหล่งที่มาหลังชื่ออาหาร ดังนั้น สามารถระบุแหล่งที่มาในบริเวณส่วนใดส่วนหนึ่งของฉลากได้ คำอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องสามารถเพิ่มเติมได้ หากชื่อเดิมมีคำว่า "น้ำแร่ธรรมชาติ" สามารถใช้ชื่อเดิมได้

               * ปัจจุบันยังบังคับใช้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 199) พ.ศ. 2543 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 454) พ.ศ. 2567 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ จะมีผลบังคับใช้วันที่ 10 เมษายน 2568 เป็นต้นไป

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   คุณภาพและมาตรฐานของน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง

      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 61) พ.ศ. 2524 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม คือ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 135) พ.ศ. 2534 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่่ 2) และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2553
      • รวมถึงคุณภาพหรือมาตรฐานเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่่ทำให้เกิดโรค ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 416) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง กำหนดคุณภาพ หรือมาตรฐาน หลักเกณฑ์เงื่อนไข และวิธีการในการตรวจวิเคราะห์ ของอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค

               ซึ่งมีความแตกต่างกับคุณภาพมาตรฐานของน้ำใช้ในโรงงาน โดยต้องมีคุณภาพเหมาะสมตามวัตถุประสงค์ของการใช้ เช่น น้ำล้างภาชนะ ควรเป็นน้ำสะอาด ไม่มีเชื้อโรค ตามที่กำหนดไว้ใน GMP 420 ข้อกำหนดพื้นฐาน หมวดที่ 4 หัวข้อ "น้ำใช้"

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

       

      ตอบ  ร่างกายของคนเราไม่สามารถย่อยก้านและใบกระท่อมได้ การบริโภคใบกระท่อมอาจทำให้เกิดก้อนพังผืดในลำไส้ ที่เรียกว่า "ภาวะถุงท่อม"

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  1. เข้าไปที่เว็บไซต์ “ตรวจสอบการอนุญาต” https://www.fda.moph.go.th/?op=kwssl&lang=1&skin=s&db=Main&ww=

                2. เลือกประเภทการค้นหา โดยคลิกเลือกหัวข้อ “สืบค้นแยกรายผลิตภัณฑ์” และคลิกเลือกหัวข้อ “อาหาร”

                3. ในช่องสืบค้นข้อมูลผลิตภัณฑ์ พิมพ์คำว่า “kratom” แล้วกด “ค้นหา”

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  1. การขออนุญาตผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีกระท่อมเป็นส่วนประกอบ :  0-2590-7209

      2. การประเมินความปลอดภัยการใช้กระท่อมนอกเหนือจากเงื่อนไขที่อนุญาต : 0-2590-7178, 7179

      3. การดำเนินการทางกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์กระท่อม : 0-2590-7000 ต่อ 97032

      4. การขออนุญาตผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีกระท่อมเป็นส่วนประกอบ : 0-2590-7000 ต่อ 71501

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  กรณีการใช้พืชกระท่อม เช่น ใบกระท่อมบดผง หรือสารสกัดจากใบกระท่อม เพื่อเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สามารถดำเนินการขออนุญาตได้ตามแนวทางการพิจารณาอนุญาตใบกระท่อมบดผง หรือสารสกัดจากใบกระท่อมด้วยน้ำหรือเอทานอลเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร link https://food.fda.moph.go.th/for-entrepreneurs/guidelines-kratom

               กรณีที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว สามารถมายื่นขออนุญาตตามขั้นตอนการพิจารณาประเมินความปลอดภัยอาหารใหม่ และส่งมอบฉลากให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาตรวจอนุมัติก่อนนำไปใช้ ตามเงื่อนไขของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 376) พ.ศ. 2559 เรื่อง อาหารใหม่ (Novel food) โดยสามารถติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่ที่หมายเลข 0-2590-7179 กรณีต้องการทราบขั้นตอนการยื่นเอกสารประเมินความปลอดภัยของหน่วยงานที่ประเมินความปลอดภัยอาหารใหม่ และค่าใช้จ่ายในการประเมิน สามารถสอบถามได้จากหน่วยงานที่ประเมินความปลอดภัยอาหารใหม่

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      23456
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup