อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ  ใบกระท่อม ซึ่งเป็นวัตถุดิบเพื่อแปรรูปพืชกระท่อม เพื่อใช้ตามวิถีชุมชน และในการพัฒนาให้เป็นพืชที่มีมูลค่าในทางเศรษฐกิจอยู่ภายใต้กำกับดูแลตามพระราชบัญญัติพืชกระท่อม พ.ศ. 2565  จึงไม่ต้องมายื่นขออนุญาตกับ อย.

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  ปัจจุบันยังไม่สามารถนำใบกระท่อมมาปรุงประกอบเป็นอาหารในร้านอาหารดังกล่าวได้ เนื่องจากไม่มีประวัติการบริโภคใบกระท่อมเป็นอาหารในลักษณะดังกล่าว จึงต้องประเมินความปลอดภัยอาหารก่อนนำมาใช้ โดยติดต่อหน่วยประเมินความปลอดภัยที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาให้

               การยอมรับเพื่อประเมินเอกสารวิชาการตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      ว่าด้วยอาหารใหม่ (
      Novel food) จากนั้นนำผลการประเมินพร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบการประเมิน ยื่นให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาพิจารณาอนุมัติผ่านระบบ E-Submission ดังมีรายละเอียดตามคู่มือประชาชน เรื่อง การขอประเมินความปลอดภัยอาหาร กรณีอาหารใหม่ เข้าถึงได้ทาง link https://food.fda.moph.go.th/media.php?id=470856744084578304&name=9.3.pdf

                ทั้งนี้ หากพบการกระทำผิด สามารถแจ้งเบาะแสผ่านศูนย์จัดการเรื่องร้องเรียนและปราบปราม การกระทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ศรป.) หรือสายด่วนหมายเลข 1556

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  การนำใบกระท่อมมาใช้ประโยชน์ เช่น เคี้ยวใบกระท่อมสดที่รูดเอาก้านใบออก หรือนำใบกระท่อมมาต้มน้ำหรือชงดื่มเป็นชากระท่อม ในลักษณะการใช้ส่วนบุคคล หรือการใช้ตามวิถีชาวบ้าน  และไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำหน่ายทางการค้า ไม่ต้องมายื่นขออนุญาตกับ อย.

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  เนื่องจากใบกระท่อม มีประวัติใช้เป็นยาแผนโบราณ เพื่อรักษาโรคทางเดินอาหารและมีฤทธิ์ระงับปวด ทดแทนการใช้สารเสพติดทางการแพทย์ เป็นต้น ประกอบกับรูปแบบการบริโภคตามวิถีชาวบ้านพบเฉพาะในบางจังหวัดของภาคใต้เท่านั้น ไม่ถือว่ามีประวัติการบริโภคเป็นอาหาร จึงต้องประเมินความปลอดภัยกรณีอาหารใหม่  ซึ่งต้องพิจารณาบนพื้นฐานการบริโภคอย่างต่อเนื่องติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และพิจารณาถึงปริมาณการรับประทานสารไมทราไจนีน และ 7-ไฮดรอกซีไมทราไจนีน ในด้านที่จะไม่มีผลต่อการบำบัด บรรเทา รักษาโรค สำหรับการจำกัดปริมาณการบริโภคขึ้นอยู่กับข้อมูลการประเมินความปลอดภัย

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  ผู้ผลิตอาหารที่มีส่วนผสมของพืชกระท่อมโดยไม่ได้ผ่านการประเมินความปลอดภัยของอาหาร กรณีผลิตเพื่อจำหน่ายภายในประเทศ ถือเป็นการฝ่าฝืนประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 430) พ.ศ. 2564 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 424) พ.ศ. 2564 เรื่อง กำหนดอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย อันเป็นประกาศซึ่งออกตามความในมาตรา 6(8) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ผู้ใดฝ่าฝืนประกาศฯ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสองปี และปรับตั้งแต่  ห้าพันบาทถึงสองหมื่นบาท ตามมาตรา 50

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  กรณีการผลิตอาหารเพื่อจำหน่ายในการส่งออกเท่านั้นและไม่มีการจำหน่ายในประเทศ ให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบของประเทศคู่ค้า และได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับเลขสารบบอาหาร (ขอรับอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร) รวมถึงไม่ต้องยื่นประเมินความปลอดภัยของการใช้พืชกระท่อมเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหาร แต่หากสถานที่ผลิตอาหารเข้าข่ายโรงงานจะต้องขออนุญาตตั้งโรงงานผลิตอาหารเพื่อจำหน่าย

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  สามารถตรวจสอบขั้นตอนการยื่นเอกสารประเมินความปลอดภัย ได้ตามเว็บไซต์ ดังนี้

                1. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

      เข้าถึงได้ทาง http://bqsf.dmsc.moph.go.th/bqsfWeb/index.php/novelfood/

                2. สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม

      เข้าถึงได้ทาง https://www.nfi.or.th/service-single-page.php?id=324

                3. ศูนย์ประเมินความเสี่ยงประเทศไทย มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

      เข้าถึงได้ทาง https://tracthailand.com/

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  1. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

                2. สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม

                3. ศูนย์ประเมินความเสี่ยงประเทศไทย มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  ปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา อนุญาตให้ใช้พืชกระท่อมเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเท่านั้น โดยมีรายละเอียดของแนวทางการพิจารณาอนุญาตตาม link https://food.fda.moph.go.th/for-entrepreneurs/guidelines-kratom โดยกำหนดส่วนของพืชกระท่อมที่ใช้และปริมาณที่อนุญาตในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ดังนี้

      (1) ใบกระท่อมบดผง และสารสกัดจากใบกระท่อมด้วยเอทานอล คิดเป็นปริมาณสารสำคัญ ไมทราไจนีน (mitragynine) (รวม 7-hydroxymitraglynine ที่อาจมีอยู่ตามธรรมชาติ) ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อวัน หรือ 200 ไมโครกรัมต่อวัน

      (2) สารสกัดจากใบกระท่อมด้วยน้ำ คิดเป็นปริมาณสารสำคัญไมทราไจนีน (mitragynine) (รวม 7-hydroxymitraglynine ที่อาจมีอยู่ตามธรรมชาติ) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อวัน หรือ 1,000 ไมโครกรัมต่อวัน

                 ดังนั้น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีใบกระท่อมบดผง หรือสารสกัดจากใบกระท่อมด้วยน้ำหรือเอทานอลที่สอดคล้องตามแนวทางการพิจารณาอนุญาตดังกล่าวแล้ว ไม่ต้องประเมินความปลอดภัยก่อนการขออนุญาต และสามารถยื่นขออนุญาตผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีส่วนผสมจากพืชกระท่อมผ่านระบบ E-submission ได้

                กรณีมีความประสงค์ใช้พืชกระท่อมเป็นส่วนประกอบในอาหารประเภทอื่น หรือเพิ่มปริมาณการใช้ในแต่ละประเภทอาหาร นอกเหนือจากที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาให้ความเห็นชอบ ต้องยื่นข้อมูลประกอบการพิจารณาตามคู่มือประชาชน เรื่อง การขอประเมินความปลอดภัยอาหาร กรณีอาหารใหม่ link https://food.fda.moph.go.th/media.php?id=470856744084578304&name=9.3.pdf กับหน่วยประเมินความปลอดภัยที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาให้การยอมรับ  

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      ตอบ  หากประสงค์ผลิตอาหารที่มีส่วนต่าง ๆ ของพืชกระท่อมเป็นส่วนประกอบเพื่อจำหน่าย ให้ปฏิบัติ ดังนี้

                1. กรณีผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีส่วนประกอบจากพืชกระท่อม มีรายละเอียดของแนวทางพิจารณาอนุญาตตาม link https://food.fda.moph.go.th/for-entrepreneurs/guidelines-kratom โดยกำหนดส่วนของพืชกระท่อมที่ใช้และปริมาณที่อนุญาตในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ดังนี้

      (1) ใบกระท่อมบดผง และสารสกัดจากใบกระท่อมด้วยเอทานอล คิดเป็นปริมาณสารสำคัญ ไมทราไจนีน (mitragynine) (รวม 7-hydroxymitraglynine ที่อาจมีอยู่ตามธรรมชาติ) ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อวัน หรือ 200 ไมโครกรัมต่อวัน

      (2) สารสกัดจากใบกระท่อมด้วยน้ำ คิดเป็นปริมาณสารสำคัญไมทราไจนีน (mitragynine) (รวม 7-hydroxymitraglynine ที่อาจมีอยู่ตามธรรมชาติ) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อวัน หรือ 1,000 ไมโครกรัมต่อวัน

      ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีส่วนประกอบจากพืชกระท่อมตามที่กำหนด ไม่ต้องประเมินความปลอดภัยก่อนการขออนุญาต และสามารถยื่นขออนุญาตผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีส่วนผสมจากพืชกระท่อมผ่านระบบ E-submission ได้

                2. กรณีมีความประสงค์ใช้พืชกระท่อมเป็นส่วนประกอบในอาหารประเภทอื่น หรือเพิ่มปริมาณการใชในแตละประเภทอาหาร นอกเหนือจากข้อ 1. ตองยื่นประเมินความปลอดภัยของการใช้พืชกระท่อมเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหาร และส่งมอบฉลากให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาตรวจอนุมัติก่อนนำไปใช้ ตามเงื่อนไขของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 376) พ.ศ. 2559 เรื่อง อาหารใหม่ (Novel food) ก่อนการผลิต นำเข้า หรือจำหน่ายในประเทศ ซึ่งชนิดอาหารและปริมาณสารสำคัญที่อนุญาต ขึ้นอยู่กับผลการประเมินความปลอดภัยจากหน่วยประเมินความปลอดภัยที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาให้การยอมรับ

                3. กรณีผลิตเพื่อการส่งออกเท่านั้น ให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบของประเทศคู่ค้า และดำเนินการยื่นขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารต่อผู้อนุญาต แล้วแต่กรณี

       

      link.png  ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม

      34567
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup