อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ  การนำส่วนของพืชกัญชาหรือกัญชงมาปรุงอาหารรับประทานเองเป็นการส่วนตัวในครัวเรือน เช่น   นำใบกัญชาหรือกัญชงชงดื่มเป็นชา นำใบกัญชาใส่ต้มไก่ แกงเผ็ด น้ำซุปก๋วยเตี๋ยว เป็นต้น ไม่อยู่ในกำกับของกฎหมายอาหารและไม่ต้องดำเนินการกับ อย.

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ฉบับประชาชน

      ตอบ  สารสกัดที่ได้จากส่วนของพืชกัญชา-กัญชง ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันสกัดจากเมล็ดกัญชง โปรตีนสกัดจากเมล็ดกัญชง รวมถึงสารสกัดแคนนาบิไดออลจากใบหรือช่อดอกของกัญชากัญชงซึ่งมีสารเมา(THC) ไม่เกินร้อยละ 0.2 โดยน้ำหนัก สามารถนำมาบริโภคเป็นอาหารได้ ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสารสกัดจากพืชกัญชากัญชงข้างต้น ต้องมีการควบคุมแหล่งที่มาของวัตถุดิบ กรรมวิธีการผลิต และคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามที่กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ฉบับประชาชน

      ตอบ  (1) เด็ก 

      (2) สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร

      (3) ผู้ที่แพ้หรือไวต่อ สาร THC หรือ CBD หรือ โปรตีนจากเมล็ด

      (4) ผู้ที่มีภาวะตับและไตบกพร่อง  ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด

      (5) ผู้ที่ใช้ยาละลายลิ่มเลือดวาฟาร์ริน ผู้ที่ใช้ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง

      (6) เป็นโรคจิต เป็นโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตกกังกล

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ฉบับประชาชน

      ตอบ  (1) วิธีการปรุงที่ผ่านความร้อน เช่น ผัด ทอด ต้ม นึ่ง เป็นต้น ทำให้สารที่อยู่ในใบสดเปลี่ยนเป็นสารเมา

      (2) อายุของใบ  ใบอ่อนจะมีสารเมามากกว่าใบแก่

      (3) ระยะเวลาการปรุง ยิ่งใช้เวลาปรุงนานยิ่งทำให้เกิดสารเมาได้สมบูรณ์ขึ้น

      (4) การใช้น้ำมันหรือไขมันในการปรุง สารเมาจากใบละลายอยู่ในน้ำมันได้ดีกว่าน้ำ

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ฉบับประชาชน

      ตอบ  ใบกัญชามีการใช้เป็นเครื่องประกอบอาหารตามวิถีชาวบ้านมาอย่างยาวนานทั้งใบสดและใบแห้ง     มีการจดบันทึกไว้ในตำราอาหารไทย เนื่องจากมีคุณสมบัติช่วยเพิ่มรสชาติอาหารและให้กลิ่นเฉพาะที่เรียกว่าเทอร์ปีน (terpene) นอกจากนี้ยังมีสารต้านอนุมูลอิสระ แร่ธาตุ และรงควัตถุ สำหรับเปลือก ลำต้น เส้นใย กิ่งก้าน และราก แม้ว่าจะไม่มีประวัติการบริโภคเป็นอาหารบันทึกไว้ แต่ก็สามารถนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารได้เนื่องจากไม่มีข้อกังวลเกี่ยวกับสารเมา

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ฉบับประชาชน

      ตอบ  (1) เมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง หรือสารสกัดจากเมล็ดกัญชง

      (2) เปลือก ลำต้น เส้นใย กิ่งก้าน และราก

      (3) ใบ ซึ่งไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย

      อย่างไรก็ตามไม่ควรนำส่วนยอดและช่อดอกของพืชกัญชากัญชง และเมล็ดกัญชา มาบริโภคเป็นอาหาร

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ฉบับประชาชน

      ตอบ  สามารถนำส่วนของพืชมาบริโภคเป็นการส่วนตัวในครัวเรือนและไม่ได้จำหน่ายให้แก่ผู้อื่นได้        โดยผู้บริโภคที่นำกัญชาหรือกัญชงมาประกอบอาหารไม่ควรนำส่วนยอดและช่อดอกของพืชกัญชากัญชง และเมล็ดกัญชามาบริโภค เนื่องจากเป็นส่วนที่มีสารเมา (THC) หากได้รับปริมาณมากทำให้เกิดอาการเคลิ้ม ประสาทหลอน สูญเสียการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ และเสพติดได้ และหากได้รับติดต่อเป็นเวลานานทำให้เกิดอาการผิดปกติของปอด หลอดเลือดหัวใจ และสูญเสียมวลกระดูก

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ฉบับประชาชน

      ตอบ  ไม่อนุญาตให้โฆษณาโดยการระบุข้อความทำให้รู้สึกผ่อนคลาย(Relax) หรือ ทำให้เข้าใจในทานองเดียวกัน ถือเป็นการโฆษณาสรรพคุณ ที่อาจทำให้ผู้บริโภคเกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับอาหารได้ เนื่องจากอาหารรับประทานเพื่อค้ำจุนชีวิต ไม่มีวัตถุประสงค์ใช้เพื่อหวังผลในการบำบัด บรรเทาอาการเครียด

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> โฆษณา

      ตอบ  กำหนดค่าการปนเปื้อนสาร THC และ CBD พิจารณาตามข้อมูลวิชาการที่ปรากฏ ทั้งข้อมูลสายพันธุ์ปลูกในประเทศไทย และต่างประเทศ โดยพบว่า เมล็ดกัญชง ประกอบด้วยสารอาหารประเภทไขมัน แป้ง โปรตีน ใยอาหาร วิตามินและแร่ธาตุ โดยเฉพาะไขมันมีสูงถึง 29-34% ประกอบไปด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว linoleic acid (omega-3) 54-60%, linolenic acid (omega-6) 15-20%, oleic acid 11-13% ซึ่งภายในเมล็ดกัญชงนั้นจะไม่มีองค์ประกอบที่เป็น THC และ CBD การพบสารดังกล่าวเป็นผลจากการปนเปื้อนน้ำมันเรซินเหนียวที่หลั่งออกมาจากต่อมไทรโคม (glandular  trichomes) จำนวนมากบนช่อดอกและใบอ่อน หากมีการเก็บเกี่ยวเมล็ดที่ไม่ดี อาจทำให้พื้นผิวเปลือกด้านนอกของเมล็ดสกปรก

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ผลิตภัณฑ์อาหาร

      ตอบ  กรณีอาหารประเภทอื่นนอกเหนือจากบัญชีดังกล่าว ผู้ผลิตใดมีความประสงค์จะนำเมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ด กัญชง หรือโปรตีนจากเมล็ดกัญชงไปใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารของตน สามารถยื่นข้อมูลความ ปลอดภัยและความจำเป็นทางเทคโนโลยีการผลิตอาหาร เพื่อให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาพิจารณา เพิ่มเติมประเภทอาหารเพื่ออนุญาตให้สามารถใช้ได้ ต้องออกเป็นประกาศกระทรวงสาธารณสุข โดยเสนอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนดเพิ่มเติมต่อไป

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> ผลิตภัณฑ์อาหาร

      6162636465
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup