อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   

      การพิจารณาคำขอและการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

      ค่าใช้จ่าย (บาท)

         1. คำขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (สบ.1)

      1,000

         2. การยื่นแบบการแก้ไขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (สบ.2)

       

      2.1 กรณีเพิ่มประเภทอาหาร หรือเปลี่ยนแปลงแบบแปลนแผนผัง หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร

      500

       2.2 กรณีแก้ไขรายการอื่น นอกเหนือจากการเพิ่มประเภท หรือเปลี่ยนแปลงแบบแปลนแผนผัง

      250

         3. คำขออนุญาตตั้งโรงงานผลิตอาหาร (อ.1)

      2,000

         4. คำขอต่ออายุใบอนุญาตผลิตอาหาร (อ.3)

      500

         5. คำขออนุญาตย้ายสถานที่ผลิตหรือสถานที่เก็บอาหาร (อ.5)

       

      5.1 กรณีย้ายสถานที่ผลิต

      2,000

      5.2 กรณีย้ายสถานที่เก็บอาหาร

      500

         6. คำขอเปลี่ยนแปลงรายการในใบอนุญาตผลิตอาหาร (ส.4)

       

      6.1 กรณีเปลี่ยนแปลงแบบแปลนแผนผัง หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร

      1,000

      6.2 กรณีแก้ไขรายการอื่น ๆ นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงแบบแปลนแผนผังหรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร

      500

       

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> สถานที่ผลิตอาหาร

      ตอบ  คิดค่าใช้จ่ายในการตรวจประเมินตามแรงม้าเครื่องมือเครื่องจักรและจำนวนคนงานของสถานที่ผลิตอาหาร โดยผู้ประกอบการชำระค่าคำขอตรวจประเมิน 3,000 บาท พร้อมยื่นคำขอตรวจประเมิน จากนั้นจะเรียกชำระอีกครั้ง ภายหลังจากการตรวจสถานที่ผลิต และทราบแรงม้าเครื่องจักรและจำนวนคนงานที่แน่นอน

      แรงม้าเครื่องจักรและจำนวนคนงาน

      ค่าใช้จ่าย (บาท)

         ไม่เกิน 5 แรงม้า และคนงาน 1-6 คน

      3,000

         (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)

      1,500

         มากกว่า 5 แรงม้า แต่ไม่เกิน 20 แรงม้า หรือคนงาน 7-50 คน

      5,000

         (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)

      2,500

         มากกว่า 20 แรงม้า แต่ไม่เกิน 50 แรงม้า หรือคนงาน 51-100 คน

      10,000

         (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)

      5,000

         มากกว่า 20 แรงม้า แต่ไม่เกิน 100 แรงม้า หรือคนงาน 101-200 คน

      15,000

         (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)

      7,500

         มากกว่า 100 แรงม้า หรือคนงานมากกว่า 200 คน

      20,000

         (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)

      10,000

       

      link.png   ประเด็นถาม - ตอบ เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> สถานที่ผลิตอาหาร

      ตอบ     ส่วนกลาง ระยะเวลาในการพิจารณาออกใบอนุญาตผลิตอาหารรวมทั้งสิ้น 16 วันทำการ (ระยะเวลาสำหรับการตรวจประเมินสถานที่ 10 วันทำการ และระยะเวลาสำหรับการพิจารณาอนุญาตคำขอ 6 วันทำการ) (ไม่นับรวม ระยะเวลาที่ผู้มายื่นคำขอชี้แจงเพิ่มเติม กรณีที่มีเหตุให้ต้องชี้แจงเพิ่มเติมผู้อนุญาตจะแจ้งเรื่องที่ต้องชี้แจงเพิ่มเติมให้ผู้ยื่นคำขอรับทราบ โดยผู้ยื่นคำขอต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด หากครบระยะเวลาแล้วผู้ยื่นคำขอไม่ชี้แจงข้อมูลเพิ่มเติม หน่วยงานจะพิจารณาคืนคำขอที่ยื่นไว้)

      ส่วนภูมิภาค ให้เป็นไปตามคู่มือประชาชนของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนั้น ๆ

       

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> สถานที่ผลิตอาหาร

      ตอบ  ตัวอย่างมีดังนี้

      1. ตัวอย่างบันทึกการรับ-จ่ายของเมล็ดกัญชง

      hemp-loc-04-1.jpg

       

      2. ตัวอย่างบันทึกการรับ-จ่ายส่วนของกัญชาหรือกัญชง

      hemp-loc-04-2.jpg

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> สถานที่ผลิตอาหาร

      ตอบ   สามารถกระทำได้ โดยมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนระหว่างการผลิตอาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชา หรือกัญชง และอาหารที่ไม่มีส่วนประกอบของส่วนกัญชงหรือกัญชาพิจารณาเป็นกรณี ดังนี้

      1. กรณีใช้สถานที่ผลิตร่วมในที่เดียวกัน แต่มีหลายสายงานผลิตและอุปกรณ์เครื่องจักรสามารถแยกกันได้ อาจแยกสายงานผลิตอาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง ออกจากสายงานผลิตอาหารที่ไม่มีส่วนของกัญชาหรือกัญชง

      2. กรณีใช้สถานที่ผลิตร่วม ประสงค์จะใช้สายการผลิตและอุปกรณ์ร่วมกัน ให้พิจารณาตามความเหมาะสมของประเภทอาหารที่จะผลิตรวมกันนั้น เช่น เดิมได้รับอนุญาตให้ผลิตอาหารประเภท เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ต่อมาต้องการเพิ่มประเภทการผลิตเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทที่มีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง ต้องมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนข้ามระหว่างการผลิต แล้วแต่กรณีตามความจำเป็น ได้แก่

      a. การกำหนดช่วงเวลาการผลิตที่แตกต่างกันคนละเวลา โดยมีแผนการผลิตที่ชัดเจน

      b. มีมาตรการที่เข้มงวดในเรื่องของการทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องจักรอุปกรณ์การผลิต มีวิธีการขั้นตอน หรือ เอกสารที่ชัดเจนให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถอ่านและเข้าใจได้

      c. มีวิธีการทวนสอบประสิทธิภาพหลังการทำความสะอาด ภายหลังการผลิต เช่น การใช้ชุดทดสอบ (TEST KIT) swab test, allergen test ภายหลังการทำความสะอาดพร้อมบันทึกผล

      d. การสุ่มตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชงหรือกัญชา ตรวจหาการปนเปื้อน สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) และ/หรือ สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) ณ ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ที่ได้รับการรับรอง เพื่อเป็นหลักฐานสำหรับการติดตามตรวจสอบโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ภายหลังการอนุญาต

                ทั้งนี้ ทั้งสองกรณีให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือที่ใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารโดยเคร่งครัด

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> สถานที่ผลิตอาหาร

       

      ตอบ  สถานที่ผลิตอาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชงจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ซึ่งกำหนดตามบัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563    ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> สถานที่ผลิตอาหาร

      ตอบ  1. การยื่นคำขอตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร

               ผู้ประกอบการต้องยื่นคำขอตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรณีสถานที่ผลิตตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร หรือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตามจังหวัดที่ตั้งสถานที่ผลิตอาหารนั้น ๆ หรือ หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองที่ขึ้นบัญชีกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยจัดเตรียมเอกสารตามที่กำหนดในคู่มือประชาชน และแนบหลักฐานเพิ่มเติม ดังนี้

      1) หลักฐานแสดงที่มาที่ชัดเจนของวัตถุดิบส่วนของกัญชาหรือส่วนของกัญชง เช่น เปลือก ลำต้น เส้นใย กิ่งก้าน ราก ใบ ซึ่งไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย ที่จะนำมาใช้ในการผลิตจะต้องมีข้อมูลที่ชัดเจนของแหล่งที่มาวัตถุดิบนั้น รวมทั้งต้องกำหนดมาตรการคัดเลือกวัตถุดิบอย่างเหมาะสมตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร

      2) หลักฐานการบันทึกการรับ-จ่ายส่วนของกัญชาหรือส่วนของกัญชง สำหรับควบคุมปริมาณการใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตอาหารประเภทที่ขออนุญาต

      3) หลักฐานการได้รับเลขสารบบอาหาร เช่น สำเนาใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร (อ.18) หรือสำเนาใบสำคัญการอนุญาตใช้ฉลากอาหาร (สบ.3/1) (แล้วแต่กรณี) สำหรับการแบ่งบรรจุ

      4) ข้อมูลมาตรการป้องกันการปนเปื้อนข้ามของผลิตภัณฑ์อาหารอื่น ๆ กรณีที่ใช้สายการผลิตร่วมกับผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง

      2. การยื่นคำขอและเอกสารหลักฐาน

             ภายหลังผ่านการตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด สำหรับผู้ประกอบการรายใหม่จะต้องยื่นคำขออนุญาตตั้งโรงงานผลิตอาหาร (อ.1) กรณีสถานที่ผลิตอาหารเข้าข่ายโรงงานหรือคำขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (สบ.1) กรณีสถานที่ผลิตอาหารไม่เข้าข่ายโรงงาน พร้อมเอกสารหลักฐานคู่มือประชาชน

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง --> สถานที่ผลิตอาหาร

      คำตอบ  อาจเลือกตรวจวิเคราะห์ในผลิตภัณฑ์อาหาร หรือภาชนะบรรจุอาหารอย่างใดอย่างหนึ่ง เนื่องจากสารทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นสารเคมีที่ใช้ในการผลิตภาชนะพลาสติก ซึ่งอาจแพร่กระจายลงสู่อาหารได้เมื่อนำภาชนะพลาสติกเหล่านี้ไปใช้ ดังนั้นหากผู้ผลิตมีการควบคุมคุณภาพการแพร่กระจายของสารในภาชนะพลาสติกตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 295) พ.ศ. 2548 เรื่อง กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของภาชนะบรรจุที่ทำจากพลาสติกแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหาร

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ ตามข้อ 4 (3) แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ ฉบับที่ 414 กรณีที่ไม่ได้ค่า ML ไว้สำหรับสารปนเปื้อนใด ในอาหารใด หากตรวจพบในปริมาณที่ต่ำกว่า LOQ ยังไม่จัดว่าเป็นการกระทำผิดกฎหมาย แต่หากสูงกว่าค่า LOQ จะพิจารณาเป็นรายกรณีบนพื้นฐานของข้อมูลวิชาการ และหลักการ as low as reasonably achievable หรือ ALARA

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ การี่ (Garri) เป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศในภูมิภาคแอฟริกา ทำโดยนำรากมันสำปะหลังนำมาแช่น้ำค้างคืนแล้วบด

      Garri.jpg

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      6364656667
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup