อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ต้องผ่านประเมินสมรรถนะ จำนวน 2 ครั้ง โดยมีเงื่อนไขการปลด * คือ

                1) ผลการ witness จาก มกอช. ณ สถานที่ผลิต หรือ

                2) ผลการ witness จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ

                3) ผลการ witness จาก หัวหน้าผู้ประเมินตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายของ

                สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาตาม ข้อ 5(3) (ข)1) ต้องเป็นผู้ตรวจประเมินที่มีประสบการณ์ในบทบาทหัวหน้าผู้ตรวจประเมินสำหรับการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายในขอบข่ายที่ได้รับมอบหมายหรือขอบข่ายที่ยื่นคำขอขึ้นบัญชีหน่วยตรวจไว้กับสำนักงานฯ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการขึ้นทะเบียนหน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร ประกาศ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2561

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   การประเมินสมรรถนะ (witness) เพื่อปลด * ผู้ตรวจประเมินภายในบริษัทสามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องรอหนังสือหรือการอนุมัติจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา แต่ขอความร่วมมือให้หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองส่งหนังสือและหลักฐานการการประเมินสมรรถนะ (witness) ผู้ตรวจประเมิน เพื่อปลด * ให้กับสำนักงานๆด้วย

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   ตามหลักการสากล การตรวจประเมินกระบวนหลัก ไม่จำเป็นต้องเป็นหัวหน้าผู้ตรวจประเมินก็ได้ โดยมอบหมายผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ แทน จึงไม่จำเป็นที่หัวหน้าผู้ตรวจต้องตรวจประเมินกระบวนงานหลักตามประเด็นดังกล่าว แต่เนื่องจากเป็น witness  เพื่อขึ้นบัญชีหน่วยตรวจหรือหน่วยรับรอง หรือเป็นการwitness เพื่อปลด * ผู้ประเมินสมรรถนะจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงเห็นควรให้ผู้ตรวจประเมินที่จะถูก witness ตรวจประเมินกระบวนหลัก แต่ถ้าหากผ่านการขึ้นบัญชีแล้วและเป็นการตรวจโดยปกติของหน่วยตรวจก็สามารถมอบหมายงานได้ตามความเหมาะสมหรือความเชี่ยวชาญได้

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   ต้องส่งผลการประเมินสมรรถนะพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อนำเสนอผลการประเมินให้คณะกรรมการรับรองหน่วยตรวจหรือหน่วยรับรอง (Accreditation Committee) พิจารณาปลด * โดยหน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองต้องส่งหลักฐานประสบการณ์ของหัวหน้าผู้ตรวจประเมินที่มีคุณสมบัติตามข้อ 5(3)(ข)1) ให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ทราบด้วย

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   ผู้ตรวจประเมินที่มี * ไม่สามารถตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายได้ ต้องผ่านการประเมินสมรรถนะ (witness) ณ สถานประกอบการอาหาร จำนวน 2 ครั้ง ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาประกาศกำหนด

                1. ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขึ้นบัญชีหน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร ประกาศ ณ วันที่ 14 มีนาคม 2561 ระบุเงื่อนไขการปลด * โดยผู้ตรวจต้องผ่านการประเมินสมรรถนะ ณ สถานประกอบการอาหาร จำนวน 2 ครั้ง คือ

                         1.1 ต้องตรวจประเมินตามหลักเกณฑ์ Primary GMP ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2555 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาอาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย หรือตามหลักเกณฑ์ GMP สุขลักษณะทั่วไป ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193) พ.ศ.2543 เรื่องวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาอาหาร จำนวน 1 ครั้ง

                         1.2 ต้องตรวจประเมินตามหลักกณฑ์ GMP เฉพาะ ได้แก่ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 220) พ.ศ.2544 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 3) หรือ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 298) พ.ศ.2549 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์นมพร้อมบริโภคชนิดเหลวที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยวิธีพาสเจอร์ไรส์ หรือ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 349) พ.ศ. 2556 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษา อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำ และชนิดที่ปรับกรด อย่างใดอย่างหนึ่ง จำนวน 1ครั้ง

                2. โดยผลการประเมินสมรรถะ ณ สถานประกอบการ จำนวน 2 ครั้ง อาจเป็นผลมาจาก 3 แหล่ง ดังนี้

                         2.1 ผลการ witness จาก มกอช. ณ สถานประกอบการอาหาร หรือ

                         2.2 ผลการ witness จาก อย. หรือ

                         2.3 ผลการ witness  จาก หัวหน้าผู้ตรวจประเมินตามหลักเกณฑ์ของกฎหมาย ที่มีคุณสมบัติ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง กำหนดหลักกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการขึ้นทะเบียนหน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร ประกาศ ณ วันที่ 19 มีนาคม 2561 ข้อ 5(3)(ข)1) คือ ต้องเป็นผู้ตรวจประเมินที่มีประสบการณ์ในบทบาทหัวหน้าผู้ตรวจประเมินสำหรับการตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายในขอบข่ายที่ได้รับมอบหมายให้ไปตรวจ หรือขอบข่ายที่ยื่นคำขอขึ้นบัญชีหน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองไว้กับสำนักงานฯ ไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง เป็นเวลารวมไม่น้อยกว่า 15 วัน

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   การใช้สารใดๆ เพื่อคาดหวังผลทางด้านเทคโนโลยีการผลิตในกระบวนการผลิตอาหารซึ่งรวมถึงน้ำบริโภค ผู้ผลิตหรือนำเข้าผลิตภัณฑ์จะต้องปฏิบัติตามประกาศว่าด้วยเรื่องวัตถุเจือปนอาหาร โดยมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ดังนี้

                1) ต้องควบคุมคุณภาพหรือมาตรฐาน (Specification) ของวัตถุเจือปนอาหารนั้นให้เป็นไปตาม Codex Advisory Specification for the Identity and Purity of Food Additives ฉบับลำสุด หรือประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาว่าด้วยเรื่องการกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของวัตถุเจือปนอาหาร

                2) ต้องมีข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้วัตถุเจือปนอาหารนั้นเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 381) พ.ศ. 2559 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 4) และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (เลขที่ 389) พ.ศ. 2561 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 5)

                กรณีการใช้โซเดียมไฮกรอกไซด์เพื่อปรับความเป็นกรดด่างในกระบวนการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทนั้น เมื่อพิจารณาจากข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้ตามบัญชีหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข (เลขที่ 389) พ.ศ. 2561 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 5) พบว่ายังไม่อนุญาตการใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ในน้ำบริโภค ตามหมวด 14.1.1.2 เนื่องจากยังไม่มีข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้ตามประกาศฯ ดังนั้นหากมีความจำเป็นทางเทคโนโลยีกรผลิต ผู้ผลิตหรือนำเข้าสามารถยื่นขอประเมินเพิ่มเงื่อนไขได้ตามคู่ประชาชน เรื่อง การขอประเมินความปลอดภัยของวัตถุเจือปนอาหารเพื่อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานหรือเงื่อนไขการใช้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร 

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   เกณฑ์การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ไมใช่เกณฑ์อ้างอิงตามกฎหมายผลิตภัณฑ์ขนมปัง อ้างอิงตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 224) พ.ศ.2544 เรื่อง ขนมปัง ซึ่งกำหนดเรื่องการแสดง ฉลาก ไม่มีกำหนดเรื่องคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ โดยคุณภาพมาตรฐานด้านจุลินทรีย์ให้อ้างอิงตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 364) พ.ศ.2556 เรื่องมาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ซึ่งคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ตลอดอายุการเก็บของผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไปตามกฎหมายกำหนด

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   พิจาณาให้คะแนนในหมวดที่ 3 การควบคุมกระบวนการผลิต ข้อ 3.6 มีการควบคุมกระบวนการผลิตอย่างเหมาะสม และ หมวดที่ 5 การบำรุงรักษาและการทำความสะอาด ข้อ 5.6 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต มีการดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสม่ำเสมอ เช่น เครื่องชั่งที่มีการสอบเทียบ ไม่เป็นไปตามครบตามที่กำหนด พิจารณาให้คะแนน "พอใช้" แต่ถ้าไม่เคยสอบเทียบเลยต้องให้แก้ไข และต้องดูช่วงการสอบเทียบว่าช่วงที่สอบเทียบนั้นสอดคล้องกับการนำไปใช้งานด้วย

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   รายการตรวจวิเคราะห์ ได้แก่

                1)  ทางเคมี : ปริมาณสารทั้งหมด (Total solid), ความกระด้างทั้งหมด (Total hardness), คลอไรด์ (Chloride express as chlorine), ซัลเฟต (Sulfate), ฟลูออไรด์ (Fluoride express as Fluorine), ไนเตรท (Nitrate express as Nitrogen), เหล็ก (Iron) , ตะกั่ว (Lead)

                2) ทางฟิสิกส์ : ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)

                3) ทางจุลินทรีย์ : MPN Coliform/100 ml , E.coli/100 ml, s.aureus/100 ml, salmonella หากมีรายการตรวจวิเคราะห์ดังกล่าวข้างต้น พิจารณาให้คะแนน "ดี" แต่หากรายการอื่น นอกเหนือจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข ให้พิจารณาจากความเสี่ยงของการปนเปื้อนในแต่ละพื้นที่ตามความเหมาะสม

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      ตอบ   แนวทางการพิจารณาให้คะแนนน้ำที่ใช้สัมผัสอาหารพิจารณารายละเอียดตามตารางที่ 1 ในภาคผนวก ของคู่มือการตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์ GMP สุขลักษณะทั่วไปกรณีใช้น้ำประปาของการประปา ให้คะแนน "พอใช้"

                - กรณีใช้ผลตรวจวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการที่ได้รับรองมาตรฐาน พิจารณาให้คะแนน

       

      link.png   หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร

      5051525354
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup