อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • ภาชนะบรรจุอาหาร
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 356) พ.ศ. 2556 เรื่อง เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท กำหนดว่าฉลากอาหารเครื่องดื่มชนิดเข้มข้น ให้แสดงข้อความ “เมื่อเจือจางแล้วมีน้ำ .......%” (ข้อความที่เว้นไว้ให้ระบุชนิดและปริมาณของผลไม้) ไว้ใต้ชื่อเครื่องดื่มด้วย  ดังนั้นเครื่องดื่มชนิดเข้มข้นที่มีส่วนประกอบของน้ำผลไม้ ต้องระบุชนิดและปริมาณของน้ำผลไม้ทุกชนิดตามกฎหมาย เว้นแต่จะมีชนิดและปริมาณน้ำผลไม้ที่หลากหลายชนิด จนไม่สามารถแสดงทุกชนิดของน้ำผลไม้ดังกล่าว อีกทั้งมีในปริมาณที่ไม่ใช่ส่วนประกอบสำคัญ อาจใช้ข้อความว่า ...ผลไม้รวม...%  ตัวอย่างข้อความ “เมื่อเจือจางแล้วมีน้ำส้มและองุ่น...%” ทั้งนี้การแสดงส่วนประกอบบนฉลากอาหารต้องระบุปริมาณของผลไม้แต่ละชนิดที่ใส่

       

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   ต้องมีข้อมูลเพียงพอในการจัดประเภทอาหาร  โดยข้อมูลของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาจัดประเภทอาหาร เช่น

                1)ชื่ออาหาร 

                2)ลักษณะอาหาร

                3) สูตรส่วนประกอบทั้งหมดแสดงเป็นร้อยละ

                4) กรรมวิธีการผลิตโดยละเอียด

                5) จุดประสงค์การใช้                          

                6) วิธีการบริโภค/วิธีการใช้/วิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์

                7) ปริมาณการบริโภค/ปริมาณการใช้

                8) ชนิดภาชนะบรรจุ/ขนาดบรรจุ                          

                9) การเก็บรักษา

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   แสดงได้ดังนี้ คือ “ข้อมูลผู้แพ้อาหาร : มีผลิตภัณฑ์จากนม” หรือ “ข้อมูลผู้แพ้อาหาร : มีวิปปิ้งครีม(ผลิตภัณฑ์จากนม)”

       

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   กรณีมีการปนเปื้อนในกระบวนการผลิตต้องแสดงข้อความว่า  “ข้อมูลสําหรับผู้แพ้อาหาร : อาจมี ………….…”   อาจแสดงข้อความว่า “อาจมี.................” ไว้ในกรอบ โดยสีของตัวอักษรต้องตัดกับสีพื้นของกรอบและสีของกรอบ ตัดกับสีพื้นของฉลาก 

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   สามารถแสดง “เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 2-8 0C หรือ “เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส”

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   แสดงอายุการเก็บรักษา โดยแสดงข้อความว่า “ควรบริโภคก่อน” หรือ “หมดอายุ” ต้องเป็นภาษาไทย แต่สามารถแสดงภาษาอื่นร่วมด้วยก็ได้ เช่น Best before หรือ Expire date  EXP หรือ BBD เป็นต้น ความหมายของภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จะต้องสอดคล้องกัน เช่น วันหมดอายุต้องเป็น Expire date  EXP

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   ชื่อตราจะเรียงต่อในแถวเดียวกับชื่อหรือคนละบรรทัด ขึ้นอยู่กับพื้นที่ของฉลากนั้นๆ ฉลากอาหาร สามารถแสดงชื่อตราคนละบรรทัดกับชื่ออาหารได้ โดยต้องเรียงต่อเนื่องในแนวนอน และไม่มีข้อความใดมาแทรก

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   สําหรับวัตถุเจือปนอาหารที่มีหน้าที่วัตถุที่ให้ความหวานแทนน้ำตาล แสดงชื่อกลุ่มหน้าที่ตามด้วยชื่อเฉพาะ สามารถแสดงข้อความ “สารให้ความหวาน (ชื่อเฉพาะ)” หรือ “วัตถุที่ให้ความหวานแทนน้ำตาล(ชื่อเฉพาะ)”

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   ในขั้นตอนการขออนุญาตผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อรับเลขสารบบอาหาร ไม่ต้องแจ้งวัตถุกันชื้นในสูตรส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เมื่อได้รับเลขสารบบอาหารแล้ว ผู้ประกอบการต้องจัดทำฉลากอาหารให้ถูกต้อง

                หากผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมีการใส่ซองวัตถุกันชื้นในภาชนะบรรจุ ในฉลากของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจะต้องแสดงข้อความ “มีซองวัตถุกันชื้น”  ด้วยตัวอักษรสีแดง ขนาดตัวอักษรไม่ต่ำกว่า 3 มิลลิเมตรบนพื้นสีขาว บริเวณที่เห็นได้ชัดเจน

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   การแสดงวัตถุเจือปนอาหารบนฉลาก ไม่ได้บังคับการเรียงปริมาณจากมากไปน้อย  โดยกำหนดการแสดงวัตถุเจือปนอาหาร ได้แก่ แสดงชื่อกลุ่มหน้าที่ของวัตถุเจือปนอาหารร่วมกับชื่อเฉพาะ หรือแสดงชื่อกลุ่มหน้าที่ของวัตถุเจือปนอาหารร่วมกับตัวเลขตาม International Numbering System: INS for Food Additives

                สําหรับวัตถุเจือปนอาหารที่มีหน้าที่เป็นสีให้ระบุ “สีธรรมชาติ” หรือ “สีสังเคราะห์” ตามด้วยชื่อเฉพาะ หรือตัวเลขตาม International Numbering System: INS for Food Additives 

                สําหรับวัตถุเจือปนอาหารที่มีหน้าที่ วัตถุปรุงแต่งรสอาหาร และวัตถุที่ให้ความหวานแทนน้ำตาล แสดงชื่อกลุ่มหน้าที่ตามด้วยชื่อเฉพาะ

                วัตถุเจือปนอาหารที่ไม่มีหน้าที่เป็นวัตถุกันเสีย วัตถุปรุงแต่งรสอาหาร วัตถุให้ความหวานแทนน้ำตาล และสี อาจแสดงข้อความว่า “วัตถุเจือปนอาหาร” แทนชื่อกลุ่มหน้าที่ของวัตถุเจือปนอาหารได้ร่วมกับชื่อเฉพาะ หรือร่วมกับตัวเลขตาม International Numbering System : INS for Food Additives

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      12345
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup