อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและการใช้งานซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของเรซิน โดย 1 ปีเป็นระยะเวลาโดยทั่วไปตามคำแนะนำของบริษัทผู้ผลิต แต่ผู้ผลิตสามารถกำหนดความถี่ในการเปลี่ยนสารกรองได้ตามความเหมาะสมของกำลังการผลิตของแต่ละโรงงานหรือคุณภาพของเรซิน ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความสะอาดของเรซินด้วย (การตรวจสอบประสิทธิภาพเรซินสามารถทำได้ทุกวันของแต่ละรุ่นการผลิตน้ำ เพื่อตรวจสอบว่าประสิทธิภาพของเรซินยังดีอยู่หรือไม่)

      การเติมของใหม่ 30%  มีความเสี่ยงเนื่องจากอีก 70% หมดประสิทธิภาพแล้ว ซึ่งต้องคำนึงถึง ประสิทธิภาพของการกรองผ่านเรซิน

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   ผู้ผลิตสามารถแสดงข้อความว่า “น้ำแร่ธรรมชาติ 100%” ได้ ยกเว้นน้ำแร่ธรรมชาติเติมคาร์บอเนต (carbonated natural mineral water)

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   สามารถแสดงข้อความว่า “น้ำแร่ธรรมชาติ 100%” ได้ ยกเว้นน้ำแร่ธรรมชาติเติมคาร์บอเนต (carbonated natural mineral water)

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   การผลิตน้ำแร่ธรรมชาติ กฎหมายกำหนดไม่ให้ใช้กระบวนการที่ทำให้สารประกอบการในน้ำเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นการเติมสารเคมี เช่น คลอรีน ซึ่งทำให้สารประกอบในน้ำเกิดการเปลี่ยนแปลงจึงไม่สามารถทำได้

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   สามารถทำได้ แต่ต้องคำนึงถึงเรื่องการปนเปื้อนซ้ำหลังการฆ่าเชื้อของอุปกรณ์การผลิตด้วย เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของจุลินทรีย์ในอุปกรณ์การผลิตหลังจากเครื่องกรองอาร์โอ

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   วันหมดอายุการใช้งานหลอดยูวี คือ วันที่ผู้ผลิตหลอดยูวีรับรองความสามารถของหลอดยูวีตามสเป็คที่จำหน่าย หลังพ้นวันหมดอายุไม่สามารถยืนยันว่าจะยังคงมีประสิทธิภาพ ดังนั้น หากจะใช้งานหลังวันหมดอายุต้องมีการตรวจติดตามเฝ้าระวังด้วยพารามิเตอร์อื่นที่มั่นใจในประสิทธิภาพด้วยความถี่ที่เหมาะสม ซึ่งอย่างน้อยต้องติดตามเป็นรายชั่วโมง และมีมาตรการจัดการกับผลิตภัณฑ์ที่มีปัญหา โดยหลักการนั้นสามารถยอมรับได้ แต่โดยทางปฏิบัตินั้นมีความยุ่งยากและความเสี่ยงอยู่มาก จึงไม่แนะนำให้ใช้หลอดยูวีที่หมดอายุ

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   

      • ผลิตภัณฑ์น้ำบริโภคฯ ต้องมีคุณภาพมาตรฐานที่สอดคล้องตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 61) พ.ศ. 2524 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม คือ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 135) พ.ศ. 2534 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่่ 2) และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2553
      • น้ำแข็งบริโภคฯ ต้องมีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 78) (พ.ศ.2527) เรื่อง น้ำแข็ง และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้แก่ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 137) พ.ศ. 2534 เรื่อง น้ำแข็ง (ฉบับที่ 2)
      • น้ำแร่ธรรมชาติ ต้องมีคุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 454) พ.ศ. 2567 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ

           ทั้งนี้ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์กองอาหาร หัวข้อ กฎหมายอาหาร

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   ชนิดของน้ำแร่ธรรมชาติ ในชื่อภาษาอังกฤษ ให้ใช้ตามที่ระบุไว้ในข้อ 4 ของ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 454) พ.ศ. 2567 เรื่อง น้ำแร่ธรรมชาติ

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   ความถี่ในการฟื้นฟูสภาพสารกรองเรซินด้วยเกลือ ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของสารกรองเรซิน ปริมาณการผลิต คุณภาพน้ำดิบ แต่ละโรงงานต้องพิจารณาจากผลการตรวจสอบความกระด้างของน้ำ หลังออกจากสารกรองเรซิน ว่าควรมีความถี่ในการฟื้นสภาพด้วยน้ำเกลืออย่างไร 

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      ตอบ   ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 61) พ.ศ. 2524 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท กำหนดคุณภาพมาตรฐานค่าพีเอชอยู่ในช่วง 6.5 - 8.5 โดยสามารถศึกษาจากคู่มือผู้ควบคุมการผลิต น้ำบริโภคฯ ในบทที่ 4 เพิ่มเติม

       

      link.png   ผู้ควบคุมการผลิตดื่ม น้ำแร่ และน้ำแข็ง

      12345
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup