อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   สามารถแสดงได้โดย

                1. อาหารที่มีอายุการเก็บรักษาไม่เกิน 90 วัน ให้แสดง “วัน เดือน และปี”

                2. อาหารที่มีอายุการเก็บรักษาเกิน 90 วัน ให้แสดง “วัน เดือน และปี” หรือ “เดือน และปี”

                เป็นภาษาไทยและสามารถแสดงภาษาอื่นร่วมด้วยก็ได้ การแสดงวัน เดือนและปี หรือเดือนและปี ให้แสดงเป็น วัน เดือนและปี หรือ เดือนและปีเรียงตามลําดับ ทั้งนี้อาจแสดง“เดือน”เป็นตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้ กรณีที่มีการแสดงไม่เป็นไปที่กล่าว ต้องมีข้อความหรือตัวอักษรที่สื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจอย่างชัดเจนถึง วิธีการแสดงข้อความดังกล่าวกํากับไว้ด้วย

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   อาหารที่ใช้วัตถุแต่งกลิ่นรสอาหารเป็นส่วนประกอบ ฉลากอาหารต้องแสดงข้อความว่า “แต่งกลิ่นธรรมชาติ” “แต่งกลิ่นเลียนธรรมชาติ” “แต่งกลิ่นสังเคราะห์” “แต่งรสธรรมชาติ” หรือ “แต่งรสเลียนธรรมชาติ” แล้วแต่กรณี เมื่อมีข้อความดังกล่าวแล้วอาจเพิ่มชื่อกลิ่นตามที่ใช้จริง เช่น แต่งกลิ่นสังเคราะห์ (กลิ่นส้ม) เป็นต้น

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   ชื่อเฉพาะของวัตถุเจือปนอาหาร ให้แสดงตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องวัตถุเจือปนอาหาร

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   “หมดอายุ” หมายความว่า วันที่ซึ่งแสดงการสิ้นสุดของคุณภาพของอาหารภายใต้เงื่อนไข การเก็บรักษาที่ระบุไว้ 

                “ควรบริโภคก่อน” หมายความว่า วันที่ซึ่งแสดงการสิ้นสุดของช่วงเวลาที่อาหารนั้นยังคงคุณภาพดี ภายใต้เงื่อนไขการเก็บรักษาที่ระบุไว้

                วันที่ควรบริโภคก่อนแตกต่างจากวันที่หมดอายุคือ ควรบริโภคก่อนวันที่สิ้นสุดของช่วงเวลาที่อาหารนั้นยังคงคุณภาพดี โดยอาหารบางชนิดอาจยังสามารถบริโภคได้ ตัวอย่างเช่น สีของอาหารจางลงแต่คุณภาพของอาหารยังไม่เปลี่ยนแปลง เป็นต้น ทั้งนี้หลังจากวันที่หมดอายุหรือควรบริโภคก่อนที่ระบุบนฉลากอาหารไว้นั้น อาหารนั้นวางจําหน่ายไม่ได้

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   “อาหาร” หมายความว่า ของกินหรือเครื่องค้ำจุนชีวิต ได้แก่

                (1) วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนำเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ หรือใน รูปลักษณะใดๆแต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษ ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี

                (2) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้หรือใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส ดังนั้น อาหาร จึงรวมถึงเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท จัดเป็นอาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 356) พ.ศ. 2556 โดยหากมีการใช้พืช สมุนไพร ส่วนของสมุนไพร เป็นส่วนประกอบของเครื่องดื่มต้องพิจารณาว่าพืช สมุนไพรที่ใช้ มีประวัติการบริโภคเป็นอาหารตามปกติก็สามารถใช้ได้ หรือ อาจศึกษาข้อมูลการใช้พืช เพื่อชงดื่มที่อยู่ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 426) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒ เรื่อง ชาจากพืช ผลิตภัณฑ์จะจัดเป็น ชาจากพืช

       

      link.png   ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี

      ตอบ   

        • สินค้า/น้ำที่สัมผัสอาหาร ต้องมีการตรวจยืนยันโดยห้องปฏิบัติการของรัฐหรือห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองระบบงาน (ISO/IEC17025) อย่างน้อยปีละ1ครั้ง โดยมีรายการตรวจวิเคราะห์ตามคู่มือรายการตรวจวิเคราะห์คุณภาพหรือมาตรฐานของผลิตภัณฑ์สุดท้ายสำหรับอาหารทุกประเภทเพื่อการทวนสอบประสิทธิผลของระบบ GMP

       

        • ภาชนะบรรจุอาหารต้องมีเกณฑ์การคัดเลือกภาชนะบรรจุที่ใช้ในการผลิตที่มีคุณภาพและความปลอดภัยตามความเหมาะสม เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดหรือเข้มงวดกว่าโดยอาจพิจารณาจาก spec ภาชนะบรรจุที่ได้มาจากผู้ผลิตภาชนะบรรจุ ประกอบการตัดสินใจได้                                                                                                                                                                                                                 

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ก๊อกน้ำใช้มือสัมผัสมีโอกาสปนเปื้อน หากจะลดเรื่องการติดเชื้อควรจะปรับปรุงแบบไม่ใช้มือสัมผัส แต่หากมีข้อจำกัดจะต้องมีมาตราการ 2 ชั้น เช่น ออกจากห้องน้ำล้างมือ แล้วมีบริเวณล้างมืออีกครั้งก่อนเข้าไลน์การผลิต

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ให้ตรวจสอบรายการตรวจวิเคราะห์เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุปิดสนิทแบบแห้ง คู่มือส่วนที่ 1 ว่ามีรายการตรวจวิเคราะห์อะไรไปแล้วบ้างแล้วเกณฑ์ที่ใช้เป็นเท่าไหร่ผ่านหรือไม่ผ่านเกณฑ์นั้น ซึ่ง อย. ไม่ได้กำหนดประเภทอาหารที่ต้องส่งตรวจวิเคราะห์ ถ้ารายการในการส่งตรวจวิเคระห์ครบถ้วนเพียงพอที่จะตัดสินใจว่าระบบคุณภาพหรือ GMP ที่ปฏิบัติอยู่สามารถทำให้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายมีคุณภาพมาตราฐานก็สามรถใช้ผลการตรวจวิเคราะห์นั้นได้โดยไม่ต้องส่งไปตรวจวิเคราะห์ใหม่ หากไม่ครบถ้วนสามารถส่งเพิ่มเป็นบางรายการได้

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ขึ้นอยู่กับลักษณะการทำงาน โดยทั่วไปต้องทำทั้ง 2 กรณี สำหรับบริเวณที่มีการใช้ถุงมือ swab มือ เพื่อที่จะพิสุจน์ว่าพนักงานล้างมืออย่างถูกต้องตามขั้นตอน swab ถุงมือ เพื่อให้รู้ว่าถุงมือสะอาดเพียงพอหรือไม่ สำหรับการล้างมือและสวมใส่เพียงใด และเพื่อยืนยันว่าการสัมผัสกับอาหารปลอดภัย      

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   สามารถทำได้ แต่ต้องเป็นภาชนะที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ ภาชนะต้องอยู่ในสภาพปิดสนิท พลาสติกต้องทนอุณหภูมิในการฆ่าเชื้อ ถ้าใช้ภาชนะพลาสติกต้องดูรายละเอียดประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 435) พ.ศ. 2565 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522  เรื่อง กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของภาชนะบรรจุที่ทำจากพลาสติก

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      3132333435
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup