อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ไม่ได้กำหนดตัวเลขแน่นอนวัตถุประสงค์คือเพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากพื้นอาคาร โดยทั่วไปหากเป็นชั้นควรมีความสูง 60 ซม. โต๊ะปฏิบัติงานควรให้สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. และหากเป็นพาเลทควรมีความสูง 15 ซม.        

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ถ้าใช้ชนิดพลาสติกตรงกับประกาศอนุญาตเอาไว้ ก็ประเมินว่าชนิดอาหารที่ผลิตไม่ได้ทำปฏิกิริยาและส่งผลให้เกิดการกัดกร่อนหรือการแพร่กระจายทางสารก็สามารถใช้ได้ โดยให้คะแนนพอใช้ เพราะว่าไม่มีผลวิเคราะห์ประกอบ  

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ต้องพิจารณาการใช้วัตถุดิบ พิจารณาเป็นรายกรณีไป แต่ข้อกำหนดโดยหลักการคือไม่ผลิตรวมกับผลิตภัณฑ์อื่นที่ไม่ใช่อาหาร ทั้งนี้สามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่กลุ่มกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาด (pre-marketing) 

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ข้อ 2.8 เป็นเรื่องของเครื่องมือในการชั่งตวง โรงผลิตน้ำมีการใช้ชั่งตวงอื่นหรือไม่ ทั้งนี้มีเรื่องของปริมาณคลอรีนที่ใช่ในการปรับคุณภาพน้ำทางจุลินทรีย์ เครื่องมือเครื่องชั่งต้องสามารถใช้งานได้ มีการทวนสอบ ความแม่นยำและความถูกต้อง แล้วจะต้องประเมินข้อนี้ด้วย

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ที่นำไปผลิตอาหารใช้น้ำ RO พอเป็นน้ำ RO น้ำตกเกณฑ์ เพราะว่า RO จะกำจัดตัวแร่ธาตุออกไป pH ก็จะลด เหลือไม่ถึง 6.5 น้ำจะตกมาตรฐานสิ่งที่จะโยงกับข้อคำถาม มี 2 ประเด็น ไม่ได้คุณภาพมาตารฐานตามประกาศกำหนด แต่มีมาตราการอื่นเพื่อลดอันตรายนั้นหรือไม่ ใช้ค่าความเป็นกรด เพื่อนำไปปรับกรดในอาหาร ไม่ได้ก่อปัญหาและค่า pH ไม่ได้ก่ออันตรายต่อผู้บริโภค ดังนั้นวัตถุประสงค์การใช้ก็ต้องนำไปพิจารณาควบคู่กันไป โดยสรุปก็คือ pH ที่ตกค่ามาตราฐาน สำหรับข้อการผลิตน้ำก็จะได้คะแนนระดับพอใช้ เพราะไม่ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่ออาหารที่ผลิต เป็นน้ำที่นำไปใช้เพื่อเป็นน้ำปรุง เมื่อจะปรับกรดอาหารก็จะต้องคุมคุณภาพที่น้ำปรุงนั้นๆ         

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ในส่วนของน้ำคูลลิ่งอาหารกระป๋องจำเป็นต้องมีการเติมคลอรีน โดยปกติน้ำต้องไม่มีเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อน การลดเชื้อในน้ำคือการเติมคลอรีน การฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพสำหรับคลอรีนจะมีเรื่องของความเข้มข้นคลอรีน ระยะเวลา การผสมอย่างทั่วถึงทุกบริเวณของน้ำและเวลาสัมผัส การเติมคลอรีนจะขึ้นอยู่กับคุณภาพของน้ำ ถ้าน้ำกระด้างมากมีสารอินทรีย์ตั้งต้นมากก็ต้องใช้ปริมาณคลอรีนที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะต้องมีการตรวจสอบขณะดำเนินการให้มีประสิทธิภาพด้วย

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ISO 22000 เป็นมาตราฐานภาคสมัครใจ ผู้ใดประสงค์จะขอรับการรับรองก็ประยุกต์ใช้มาตราฐานนั้น แต่ GMP 420 เป็นกฎหมายบังคับ ถ้าขออนุญาตใหม่จะต้องตรวจ GMP 420 ใหม่ เพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการขออนุญาต แต่ตอนต่ออายุใบอนุญาต อย. อำนวยความสะดวก โดยทำมาตราฐานอื่นที่มีความเทียบเท่าหรือสูงกว่า GMP 420 เช่น ISO 22000 สามารถใช้ใบรับรอง ISO 22000 ที่น่าเชื่อถือออกโดยหน่วยรับรองสามารถนำมาใช้เป็นหลักฐานในการต่ออายุใบอนุญาตและไม่ต้องมาตรวจ GMP 420 ซ้ำ

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ว่าต้องเป็นชนิดใด อุปกรณ์ทำให้มือแห้งสามาถเลือกใช้งานเองได้ กระดาษทิชชู่เลือกชนิดที่อออกแบบใช้สำหรับเช็ดมือ ไม่เป็นขุย ไม่เปื่อยยุ่ย สำหรับเครื่องเป่าลมร้อน หากทำความสะอาดทุกวันฉีดพ่นสารฆ่าเชื้อ ก็ไม่เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   หมวดที่ 1 เป็นเรื่องโครงสร้าง โครงสร้างมีการออกแบบปกปิดอาหารมิดชิดหรือไม่ พิจารณามีห้องผลิตหรือไม่ ระหว่างกระบวนการมีการปกปิดป้องกันแมลงได้ ให้คะแนน “ดี” ได้ แต่ถ้าพบแมลงในพื้นที่ผลิตระหว่างผลิต ให้คะแนน “พอใช้” โดยต้องเข้าผังการตัดสินใจ และควรไปพิจารณาในหมวด 4 ข้อ 4.5 เรื่องมาตรการรควบคุมและกำจัดสัตว์และแมลง อย่างมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาว่า หากยังพบสัตว์และแมลงในบริเวณผลิต แสดงว่ามาตรการที่ใช้อาจไม่เพียงพอหรือไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ความถี่ในการควบคุมหรือกำจัดไม่เหมาะสม วิธีการไม่เหมาะสม สามารถให้คะแนน “ปรับปรุง” หรือ“พอใช้” ได้โดยใช้ผังการตัดสินใจ

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      ตอบ   ก่อนการใช้งานมีการสุ่มตรวจ เช่น สุ่มดูสภาพความสมบูรณ์ ดังนั้นมาตราการ GMP จึงต้องออกแบบเป็นวิธีการป้องกัน เก็บให้ดี เก็บไม่ให้ปนเปื้อน ก็คือจัดเก็บมิดชิด สูงจากพื้นให้ทำความสะอาดพื้นที่โดยรอบได้ไม่ซ้อนทับสูงเกิดไปทำให้ภาชนะมีน้ำหนักทับซ้อนจนไม่สามารถปิดผนึกได้สมบูรณ์        

       

      link.png   GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด

       

      3233343536
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup