อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ 

      • การบังคับใช้ครอบคลุมสถานที่ผลิตอาหารเพื่อจำหน่ายทุกแห่ง ยกเว้น
        1. สถานที่ปรุงจำหน่ายอาหาร เช่น ร้านอาหาร ภัตตาคาร ห้องอาหาร สวนอาหาร โรงอาหาร ร้านปรุงจำหน่ายในตลาด โรงเรียน โรงพยาบาล เว้นแต่สถานที่ผลิตดังกล่าวจะผลิตอาหารควบคุมเฉพาะ อาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานอาหาร หรืออาหารที่ต้องมีฉลาก ที่มีการใช้เครื่องจักรตั้งแต่ 5 แรงม้าขึ้นไป หรือใช้คนงานตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป กรณีนี้ยังคงต้องปฏิบัติประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร
        2. สถานที่จำหน่ายอาหาร ณ ที่หรือทางสาธารณะ เช่น หาบเร่ รถเร่ แผงลอยจำหน่ายอาหาร
        3. สถานที่ผลิตเกลือบริโภค ให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 1 เรื่อง การขอรับใบอนุญาตตั้งโรงงานผลิตอาหาร เพื่อจำหน่าย และประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย เกลือบริโภค
        4. สถานที่คัดและบรรจุผักและผลไม้สดบางชนิด ที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 386 พ.ศ. 2560 เรื่อง กำหนดวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาผักหรือผลไม้สดบางชนิด และการแสดงฉลาก ให้ปฏิบัติตามประกาศฉบับดังกล่าว
      • ทั้งนี้เนื่องด้วยข้อ ยกเว้นข้อแรก มักมีการตีความคลาดเคลื่อน อย. จึงได้จัดทำแนวทางการพิจารณาลักษณะของสถานประกอบการที่มีกิจกรรมการปรุงจำหน่ายและผลิตอาหารซึ่งอยู่ในข่ายได้รับการยกเว้นไม่ต้องถูกบังคับตามเงื่อนไข GMP  420 ดังภาพแนวทางพิจารณาสถานที่ปรุงจำหน่ายและผลิตอาหาร ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างถูกต้องตรงตามเจตนารมณ์ของการออกกฎหมาย 

      gmp-10.jpg

      ภาพที่ 1 แนวทางพิจารณาสถานที่ปรุงจำหน่ายและผลิตอาหาร ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ ผู้ผลิตอาหารประเภท "อาหารทั่วไป" ที่ไม่อยู่ในข้อยกเว้น 4 ข้อข้างต้น ต้องปฏิบัติตาม GMP 420

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • กรณีเป็นผู้ผลิตอาหารที่เข้าข่ายบังคับใช้ GMP 420 ต้องปรับปรุงสถานที่ผลิตอาหารและควบคุมกระบวนการผลิตให้ถูกสุขลักษณะและมีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตามข้อกำหนดพื้นฐาน และข้อกำหนดเฉพาะ (แล้วแต่กรณี) การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ซึ่งออกตามความในมาตรา 6 (7) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522  มีโทษตามมาตรา 49 ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
      • ส่วนการพิจารณาว่าจะต้องขออนุญาตตั้งโรงงานผลิตอาหาร(อ.2) หรือขอรับเลขสำคัญสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน(สบ.1/1) หรือไม่นั้น ขอให้พิจารณาตามมาตรา 14 แห่ง พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 ประกอบกับนิยามคำว่าโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พศ.2562 (ฉบับที่ 2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่เกี่ยวข้องกับอาหารประเภทที่ผลิตนั้น  และระเบียบ อย. ว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหารฉบับปัจจุบัน ซึ่งหลักเกณฑ์และเงื่อนไขต่าง ๆ ยังคงเดิม

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ

      • สถานที่ปรุงจำหน่ายอาหารในลักษณะพร้อมเสิร์ฟให้แก่ผู้บริโภค บริการอาหารให้ลูกค้าภายในร้าน หรือวางจำหน่ายเฉพาะหน้าร้านให้กับผู้บริโภคโดยตรง โดยไม่มีการส่งกระจายไปจำหน่ายยังที่อื่นๆ ไม่ว่าจะมีการใช้แรงม้าหรือคนงานเท่าใด ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหารและไม่ต้องขอรับเลขสารบบอาหาร ตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 เนื่องจากอยู่ในความดูแลตามมาตรา 4 นิยาม "สถานที่จำหน่าย" แห่ง พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เพื่อไม่ให้เกิดการทับซ้อนของการบังคับใช้กฎหมายทั้งสองฉบับ ยกเว้น กรณีผลิตแล้วนำอาหารไปวางจำหน่าย ณ สถานที่อื่นต้องขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหารและขอรับเลขสารบบอาหาร
      • สถานที่ปรุงจำหน่ายอาหารในลักษณะพร้อมเสิร์ฟให้แก่ผู้บริโภค โดยบริการอาหารให้ลูกค้าภายในร้าน หรือวางจำหน่ายหน้าร้านให้กับผู้บริโภคพิจารณาเลือกซื้อได้เองโดยตรง หากจัดเป็นอาหารในกลุ่ม "อาหารควบคุมเฉพาะ" "อาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน" หรือ "อาหารที่ต้องมีฉลาก" ที่มีการใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์การผลิตรวมตั้งแต่ 5 แรงม้าขึ้นไปหรือคนงานตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป ผู้ปรุงจำหน่ายอาหารดังกล่าวต้องปฏิบัติตาม GMP 420  แม้จะได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร แต่ยังคงอยู่ในการกำกับดูแลเมื่อผลิตภัณฑ์อาหารกลุ่มดังกล่าวมีการวางจำหน่ายแล้วโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ของกรมอนามัย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 385) พ.ศ. 2560 เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ สถานที่ผลิตน้ำดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทเพื่อจำหน่ายทุกแห่ง เข้าข่ายต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดพื้นฐาน และข้อกำหนดเฉพาะ 1 ของ GMP 420 โดยไม่มีข้อยกเว้น ไม่ว่าจะดำเนินการโดยรัฐหรือเอกชนภายใต้โครงการใด การบังคับใช้ประกาศ 420 จะประเมินจากผู้ประกอบการเป็นผู้ผลิตอาหาร ดังนั้นโครงการผลิตน้ำดื่มประชารัฐจะเข้าข่ายตามประกาศ 420 และต้องปฏิบัติให้ครบถ้วนครอบคลุมตามข้อกำหนด GMP 420

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ  กิจการตู้น้ำหยอดเหรียญ เป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ที่ต้องควบคุมตามหมวด 7 ของ พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 ผู้ประกอบกิจการต้องได้รับอนุญาตจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมิใช่สถานที่ผลิตอาหารตาม พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ.2522 จึงไม่เข้าข่ายต้องปฎิบัติตามข้อกำหนด GMP 420

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • กรณีโรงคัดและบรรจุผักผลไม้ชนิดที่ไม่อยู่ในบัญชีรายชื่อแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 386 พ.ศ.2560 ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนด GMP 420
      • สำหรับอาหารที่กฎหมายมิได้กำหนดให้ต้องขอรับเลขสารบบอาหาร เช่น ผักผลไม้สดชนิดที่นอกเหนือจากที่บังคับใช้ GMP 386 หากประสงค์จะขอรับเลขสารบบอาหารก็สามารถขอรับเลขสารบบอาหารได้ตามที่ระบุในข้อ 4 ของระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร พ.ศ. 2562

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ "สถานที่ปรุงจำหน่ายอาหาร" ไม่จำเป็นต้องเป็น "โรงงาน" โดยทั่วไปการบริการอาหารให้ลูกค้าภายในร้าน หรือวางจำหน่ายหน้าร้านให้กับผู้บริโภคโดยตรง จะมีกำลังการผลิตไม่มาก รวมทั้งการปรุงจำหน่ายอาหารให้ผู้บริโภคในปริมาณไม่มาก อย.จึงมิได้นำนิยาม "โรงงาน" ตาม พ.ร.บ.โรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาอ้างอิง จึงได้กำหนดให้สถานที่ปรุงหรือผลิตอาหารเพื่อจำหน่ายที่มีการใช้เครื่องจักรตั้งแต่ 5 แรงม้า หรือใช้คนงานตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนด GMP 420 เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาความเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบกับความปลอดภัยอาหารที่ผลิตนั้นในกรณีสถานที่ผลิตหรือสถานที่ปรุงจำหน่ายอาหารที่มีการใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ที่มีกำลังแรงม้ามีการผลิตในปริมาณมากและมีโอกาสการกระจายสินค้าไปยังที่อื่นๆได้ค่อนข้างมากในลักษณะแบบขายส่ง อาจเกิดปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยของอาหารที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภคในวงกว้าง

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • ข้อให้พิจารณาเงื่อนไขการบังคับใช้ GMP กฎหมาย และเงื่อนไขการขอรับเลขสารบบอาหาร แยกจากกันเนื่องจากอ้างอิงประกาศและระเบียบคนละฉบับ และมีแนวทางการพิจารณาด้วยเงื่อนไขที่แตกต่างกัน เพื่อลดความสับสนของการบังคับใช้กฎหมาย
      • สำหรับการพิจารณากรณี "น้ำผึ้ง" และ "น้ำนมถั่วเหลืองในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท" ต้องขอรับเลขสารบบอาหารหรือไม่ ให้พิจารณาตามประกาศที่เกี่ยวข้อง สรุปได้ดังผังตัดสินใจตามภาพที่ 2

        gmp-18.jpg

      ภาพที่ 2 ผังการตัดสินใจประเภทอาหาร ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเงื่อนไขการขอรับเลขสารบบอาหารของ "น้ำผึ้ง" และ "น้ำนมถั่วเหลืองในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท"

      • สำหรับการพิจารณากรณี "น้ำผึ้ง" และ "น้ำนมถั่วเหลืองในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท" ต้องปฏิบัติตาม GMP 420 ให้พิจารณาตามข้อ 2 ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 โดยใช้แนวทางการพิจารณาดังภาพที่ 1

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • กรณีเป็นสถานที่ผลิตเกลือบริโภค ต้องมีผลการตรวจประเมินผ่านเกณฑ์ ตามคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 428/2553 เรื่อง การตรวจประเมินสถานที่ผลิตเกลือบริโภคตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง เกลือบริโภค และกฎหมายบังคับต้องขอรับเลขสารบบอาหาร
      • กรณีเป็นสถานที่คัดและบรรจุผักและผลไม้สดบางชนิด ที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 386 พ.ศ. 2560 เรื่อง กำหนดวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาผักหรือผลไม้สดบางชนิด และการแสดงฉลาก ต้องมีผลการตรวจประเมินผ่านตามหลักเกณฑ์ที่ระบุในประกาศฉบับดังกล่าว
      • กรณีเป็นสถานที่ผลิตอาหารทั่วไป ต้องมีผลการตรวจประเมินผ่านตามข้อกำหนดพื้นฐานของ GMP 420 หรือข้อกำหนดอื่นที่เทียบเท่าหรือไม่ต่ำกว่าข้อกำหนดพื้นฐานของ GMP 420 เช่น กรณีผักผลไม้สดชนิดที่นอกเหนือจากที่บังคับใช้ GMP 386 หากประสงค์จะขอรับเลขสารบบอาหารก็สามารถขอรับเลขสารบบอาหารได้ตามที่ระบุในข้อ 4 ของระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับเลขสารบบอาหาร พ.ศ. 2562 โดยสถานที่ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดพื้นฐานของ GMP 420 หรือจะปฏิบัติตามข้อกำหนดเฉพาะผลิตภัณฑ์ตามเกณฑ์ GMP 386 ก็ได้

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      7475767778
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup