อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ 

      • ในเบื้องต้นทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะประกาศรายชื่อของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมบนเว็บไซต์กองอาหาร เผยแพร่แก่บุคคลทั่วไป
      • ผู้ผลิตอาหาร ต้องมีเอกสารแต่งตั้งผู้ควบคุมการผลิตประจำโรงงานเป็นลายลักษณ์อักษรพร้อมใบประกาศนียบัตรการสอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตอาหารเก็บไว้เป็นหลักฐาน ณ สถานประกอบการ รองรับการตรวจประเมินของเจ้าหน้าที่ โดยแจ้งรายละเอียดการแต่งตั้งในเว็บไซด์กองอาหาร เพื่อเป็นฐานข้อมูลกลางของประเทศ ในช่วงแรกของการบังคับใช้กฎหมาย ส่วนข้อมูลนี้จะสามารถสืบค้นได้เฉพาะเจ้าหน้าที่ก่อน แผนงานในระยะต่อไปจะพัฒนาให้สามารถสืบค้นได้เต็มรูปแบบ

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • กรณีผลิตอาหารหลายประเภท มีกระบวนการผลิตหลายสายงานการผลิต เป็นหน้าที่ของผู้ผลิตอาหารต้องพิจารณาจำนวนผู้ควบคุมการผลิตที่เพียงพอ เพื่อจะมั่นใจได้ว่าผู้ควบคุมการผลิตจะสามารถทำหน้าที่ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตทุกประเภท ทุกรุ่นการผลิต ให้เป็นไปตามกฎหมายอย่างสม่ำเสมอได้ อย่างไรก็ตามผู้ควบคุมการผลิตทุกคนต้องได้รับการแต่งตั้งและกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร รวมทั้งมีความรู้ในการควบคุมการผลิตโดยมีใบประกาศนียบัตรการสอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตทุกหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการผลิตของสถานประกอบการนั้นๆ
      • ตัวอย่าง 1 กรณีสถานที่ผลิตผลิตทั้งน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็ง ผู้ควบคุมการผลิตต้องสอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท น้ำแร่ธรรมชาติ และน้ำแข็งบริโภค หลักสูตรเดียว
      • ตัวอย่าง 2 กรณีสถานที่ผลิตนมพร้อมดื่มพาสเจอไรซ์ ซึ่งมีการปรับคุณภาพน้ำเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตอยู่แล้ว และอาจจะขยายตลาดเพิ่มไลน์การผลิตน้ำบริโคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท กรณีนี้หากใช้ผู้ควบคุมการผลิตคนเดียว บุคคลนั้นต้องผ่านการฝึกอบรมทั้งหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตผลิตภัณฑ์นมพร้อมบริโภคชนิดเหลวที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยวิธีการพาสเจอไรซ์ และหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท น้ำแร่ธรรมชาติ และน้ำแข็งบริโภค แต่หากมีการแบ่งความรับผิดชอบใช้ผู้ควบคุมการผลิต 2 คน โดยแบ่งความรับผิดชอบตามไลน์การผลิต ผู้ควบคุมการผลิตก็สามารถอบรมเฉพาะหลักสูตรที่ตนรับผิดชอบ ไม่จำเป็นต้องผ่านการอบรมทั้ง 2 หลักสูตรเพียงคนเดียว

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ  เป็นได้ โดยต้องทำหน้าที่อย่างสม่ำเสมอในการดูแลควบคุมการผลิตทุกรุ่นให้ปลอดภัยและเป็นไปตามกฎหมาย รวมทั้งทวนสอบบันทึกการควบคุมกระบวนการผลิต อีกทั้งต้องสอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท น้ำแร่ธรรมชาติ และน้ำแข็งบริโภค

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • นมเปรี้ยวพร้อมดื่มพาสเจอไรซ์ ผ่านกระบวนการหมักจนผลิตภัณฑ์มีค่า pH ต่ำกว่า 4.6 โดยธรรมชาติ (Acid Food) มีความเสี่ยงต่ำ ปฏิบัติตามข้อกำหนดพื้นฐาน ก็เพียงพอที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและความปลอดภัย จึงมิได้บังคับใช้ข้อกำหนดเฉพาะใดตาม GMP 420 ไม่จำเป็นต้องมีการแต่งตั้งผู้ควบคุมการผลิต
      • ในกรณีที่โรงงานเดียวกันนี้ มีการผลิตนมโค หรือนมปรุงแต่ง หรือผลิตภัณฑ์ของนม โดยผ่านกระบวนการพาสเจอไรซ์ ร่วมกับนมเปรี้ยวด้วย ผู้ผลิตจำเป็นต้องแต่งตั้งผู้ควบคุมการผลิตและดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนดเฉพาะ 2 สำหรับการผลิตผลิตภัณฑ์นมพร้อมบริโภคชนิดเหลว ที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยวิธีการพาสเจอไรซ์

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • กรณีนี้จะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ "ประจำสถานที่ผลิต" เนื่องจากต้องมีความพร้อมในการควบคุมสถานที่ผลิตได้อย่างสมบูรณ์
      • เจตนารมณ์ของกฎหมายต้องการให้เป็นบุคลากรในองค์กรทำหน้าที่ควบคุมการผลิตอย่างน้อย 1 คน ต่อ 1 โรงงาน (สถานที่ผลิต 1 เลขที่ได้รับอนุญาตจาก อย. หรือ สสจ.)

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      1. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข หน่วยประเมินความปลอดภัยอาหาร สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
        โทรศัพท์ 0-951-0000 ต่อ 99526-8  Email : riskcenter.bqsf@dmsc.mail.go.th
      2. สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม  โทรศัพท์ 0-2422-8688 ext.5500
      3. ศูนย์ประเมินความเสี่ยงประเทศไทย มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี  โทรศัพท์ 0-2800-2380 ต่อ 119  โทรสาร 0-2889-3673  E-mail: tracthailand@gmail.com
      4. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (เฉพาะกรณีเป็นอาหารใหม่ หรือไม่เข้าอาหารใหม่ที่ได้จากจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรมโดยไม่มีจุลินทรีย์และสารพันธุกรรมหลงเหลือ และที่ได้จากจุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร)  หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพอาหาร 113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 
        โทรศัพท์ 0 2564 6700  โทรสาร 0 2564 6701 -5

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​สามารถตรวจสอบขั้นตอนการยื่นเอกสารประเมินความปลอดภัย ได้ตามเว็บไซต์ ดังนี้

      1. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 
      2. สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม 
      3. ศูนย์ประเมินความเสี่ยงประเทศไทย มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 
      4. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กรณีจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรมและจุลินทรีย์โพรไบโอติก

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​ตรวจสอบค่าใช้จ่ายได้ตามเว็บไซต์ ดังนี้

      1. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ค่าใช้จ่ายประมาณ 61,500 บาท 
      2. สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม ค่าใช้จ่ายสูตรละประมาณ 69,000 บาท และหากมีส่วนประกอบมากกว่าหนึ่งชนิด คิดเพิ่มชนิดละ 20,000  และหากต้องจัดหาเอกสารเพิ่มเติมคิดรายการละ 5,000 บาท 
      3. ศูนย์ประเมินความเสี่ยงประเทศไทย มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับจำนวนชนิดของ Ingredient ตั้งแต่ 90,000 บาท - 150,000 บาท 
      4. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (จัดทำรายงานประเมินความเสี่ยง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล ด้านโภชนาการ/คุณสมบัติผลิตภัณฑ์ ด้านพิษวิทยา และด้านการก่อภูมิแพ้ประเมินความปลอดภัย ราคา ประมาณ  250,000 บาท  และ  จัดทำรายงาน 2 ด้าน ราคาประมาณ 150,000 บาท ) 

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ตรวจสอบระยะเวลาประเมินความปลอดภัยได้ตามเว็บไซต์ ดังนี้

      1. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ระยะเวลาประมาณ 90 วันทำการ 
      2. สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม ระยะเวลาประมาณ 90 วันทำการ 
      3. ศูนย์ประเมินความเสี่ยงประเทศไทย มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระยะเวลาประมาณ 90 วันทำการ 
      4. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​ช่องทางติดต่อหน่วยประเมินความปลอดภัย ดังนี้

      1. สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข หน่วยประเมินความปลอดภัยอาหาร สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร โทรศัพท์ 0-951-0000 ต่อ 99526-8  Email : riskcenter.bqsf@dmsc.mail.go.th
      2. สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม  โทร 0-2422-8688 ext.5500
      3. ศูนย์ประเมินความเสี่ยงประเทศไทย มูลนิธิส่งเสริมโภชนาการในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โทรศัพท์ 0-2800-2380 ต่อ 119 โทรสาร   0-2889-3673 E-mail: tracthailand@gmail.com
      4. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) หน่วยวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพอาหาร 113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120  โทรศัพท์ 0 2564 6700  โทรสาร 0 2564 6701 -5

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      7778798081
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup