อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​ปัจจุบันการใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหารมีประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 2 ฉบับ ได้แก่

      1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2554 เรื่อง การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 346) พ.ศ. 2555 เรื่อง การใช้จุลินทรีย์ โพรไบโอติกในอาหาร (ฉบับที่ 2)

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​สามารถตรวจสอบเอกสารสำหรับประเมินความปลอดภัยได้ตาม link.png

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​ตรวจสอบบัญชีรายชื่อจุลินทรีย์ที่เป็นจุลินทรีย์โพรไบโอติกสำหรับใช้ในอาหาร แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​ค่าใช้จ่ายในการประเมินติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotech) หรือ https://www.biotec.or.th/home/technical-services/

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​ยื่นประเมินความปลอดภัยในระบบ e-submission หัวข้อประเมินความปลอดภัยอาหาร โดยศึกษาขั้นตอนได้จากหน้าเว็บไซต์กองอาหาร หรือ https://shorturl.asia/4F3j6 โดยมีค่าใช้จ่ายการยื่นคำขอ จำนวน 3,000 บาท และระยะเวลาดำเนินการ 40 วันทำการ

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ

      1. ตรวจสอบวัตถุดิบว่าไม่อยู่ให้รายชื่อห้ามใช้ในอาหาร

               วัตถุดิบที่จะอนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร ต้องไม่ปรากฏชื่ออยู่ในบัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 424) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง กำหนดอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย (Negative list) และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

      2. ทวนสอบความถูกต้องของชื่อวิทยาศาสตร์ของวัตถุดิบ เนื่องจากรายชื่อวัตถุดิบที่กำหนดตามบัญชี Positive lists ประกอบด้วย บัญชีแนบท้ายประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรื่อง ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำแนะนำการใช้ส่วนประกอบสำคัญในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร บัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง ชาจากพืช และบัญชีรายชื่อส่วนประกอบที่อนุญาตให้ใช้ในอาหาร ประเภทเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ยกเว้นเครื่องดื่มที่ผสมกาเฟอีน) และกาแฟ

               เนื่องจากบัญชี Positive lists ดังกล่าว ระบุเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการยอมรับ (accepted name) ซึ่งอาจมีชื่อพ้อง (synonym) ได้มากกว่าหนึ่งชื่อ จึงจำเป็นต้องตรวจสอบจากฐานข้อมูลวิชาการ

      ตัวอย่างฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือในการตรวจสอบความถูกต้องของชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) หรือชื่อพ้อง เช่น

               2.1) ฐานข้อมูลของกลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เข้าถึงได้จาก https://www.dnp.go.th/botany/index.html

               2.2) ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เข้าถึงได้จาก http://www.qsbg.org/Database/plantdb/index.asp

               2.3) ฐานข้อมูล The Plant List - A working list of all plant species ซึ่งเป็นฐานข้อมูลพฤกษศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา จัดทำโดยความร่วมมือของ Royal Botanic Gardens, Kew และ Missouri Botanical Garden เข้าถึงได้จาก http://www.theplantlist.org/

               2.4) ฐานข้อมูล Plants Database; List of Accepted Nomenclature, Taxonomy, and Symbols ของประเทศสหรัฐอเมริกา จัดทำโดย  Natural Resources Conservation Service (NRCs), United State Department of Agriculture เข้าถึงได้จาก https://plants.sc.egov.usda.gov/home

               2.5) ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพระดับโลกของ Global Biodiversity Information Facility; GBIF เข้าถึงได้จาก https://www.gbif.org/

       

      3. ข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาอนุญาตวัตถุดิบที่อยู่นอกบัญชีอนุญาต (Positive lists) (ไม่มีรายชื่อหรือไม่ใช่ชื่อพ้อง) ซึ่งต้องทวนสอบการเป็นอาหารใหม่ ดังนี้

      3.1) ข้อมูลทั่วไปของวัตถุดิบ ได้แก่ ประวัติการบริโภคเป็นอาหาร ประกอบด้วย

        • ส่วนที่ใช้/บริโภคได้
        • รูปแบบที่บริโภคและปริมาณการบริโภค
        • สารพิษที่มีอยู่ตามธรรมชาติ (natural toxin)
        • สารสำคัญ/สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ

      3.2) ข้อมูลของผลิตภัณฑ์ที่มีวัตถุดิบเป็นส่วนประกอบ

        • ส่วนที่ใช้ (part of use)
        • วิธีการผลิต
        • ปริมาณที่เสนอขอใช้/ประเภทอาหาร (กรณีใช้เป็นวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น)
        • การอนุญาต/ข้อกฎหมายของประเทศที่อนุญาต (ถ้ามี)
        • ประวัติการจำหน่ายเป็นอาหารในประเทศอื่น และระยะเวลาการจำหน่าย (ถ้ามี)

      safety-21-1.jpg

      safety-21-2.jpg

       

      ผู้ประกอบการ สามารถศึกษารายละเอียดของเอกสารประกอบการพิจารณาทวนสอบการเป็นอาหารใหม่ และผลการประเมินความปลอดภัยอาหารที่ไม่เข้าข่ายอาหารใหม่ ได้ตามลิ้งค์นี้
        • แบบคำขอทวนสอบการเป็นอาหารใหม่
        • แบบคำขอยื่นผลการประเมินความปลอดภัยอาหารที่ไม่เข้าข่ายอาหารใหม่
        • รายชื่อวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่ายเป็นอาหารใหม่

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ปัจจุบันมี 3 วิธี ได้แก่

                1. ชุดทดสอบไอคิท (I-Kit) และชุดทดสอบไอคิทที่ดัดแปลงการอ่านด้วยไม้บรรทัด (Modified I-Kit)

                2. เครื่องไอรีดเดอร์ (I-Reader)

                3. ไตเตรชั่น (Titration)

               สำหรับวิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน ปัจจุบันมีเพียง 1 วิธี เท่านั้น ได้แก่ วิธี Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (ICP-MS) ทั้งนี้ ผู้ประกอบการควรส่งผลิตภัณฑ์ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน ณ ห้องปฏิบัติการที่ได้รับมาตรฐาน 17025 หรือหน่วยงานราชการ อย่างน้อยปีละครั้ง

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ​สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล โทร. 024419734, 024419729 มือถือ 0863205925 และสามารถติดต่อผ่านเว็บไซต์ www.il.mahidol.ac.th หรือ E-mail: ikit.muil@gmail.com

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ หากหัวเชื้อดังกล่าวไม่ได้มีการเติมไอโอดีนลงในผลิตภัณฑ์ สถานประกอบการที่รับซื้อหัวเชื้อไปผลิตต่อสามารถเติมไอโอดีนลงไปในผลิตภัณฑ์ได้ แต่หากหัวเชื้อดังกล่าวมีการเติมไอโอดีนลงในผลิตภัณฑ์แล้ว สถานประกอบการที่รับซื้อหัวเชื้อไปไม่ควรเติมไอโอดีนลงในหัวเชื้ออีก เนื่องจากอาจมีโอกาสทำให้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายมีปริมาณไอโอดีนสูงเกินกว่าที่มาตรฐานกำหนดได้

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ กรณีปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ตรวจพบขาดหรือเกินร้อยละ 30 จากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุด จะถือว่าเข้าข่ายเป็นอาหารปลอมตามมาตรา 25(2) โดยมีลักษณะตามมาตรา 27(5) ให้ต้องระวางโทษตามมาตรา 59 ของพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 กล่าวคือ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 25(2)  ตต้องระวังโทษจําคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับตั้งแต่ห้าพันบาทถึงหนึ่งแสนบาท

              กรณีปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ตรวจพบไม่ถึงขนาดังที่กำหนดไว้ในมาตรา 27(5) จะถือว่าเข้าข่ายเป็นอาหารผิดมาตราฐานตามมาตรา 25(3) ได้แก่ อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามคุณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดตามมาตรา 6(2) หรือ (3) ให้ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      7980818283
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup