อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์อาหารซึ่งมีวัตถุดิบที่ผ่านการประเมินความปลอดภัยเป็นส่วนประกอบ กรณีเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ต้องมีเลขสารบบอาหาร ให้ดำเนินการยื่นขอรับเลขสารบบอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง หากไม่ทราบว่าจัดเป็นอาหารประเภทใดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ให้ดำเนินการยื่นสอบถามประเภทอาหาร โดยสามารถศึกษาข้อมูลได้ที่ link.png และหากวัตถุดิบดังกล่าวไม่มีเลข FDA number ให้ดำเนินการยื่นขอเพิ่มส่วนประกอบ โดยศึกษาข้อมูลได้จากคู่มือการค้นหาสารและการเพิ่มสารสำหรับการยื่นคำขออนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร ผ่านระบบ e-submission สำหรับผู้ประกอบการ ซึ่งเข้าถึงได้จาก link.png

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ กรณีที่บริษัทฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นส่วนประกอบในประเภทอาหารต่าง ๆ เช่น เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์นม นมเปรี้ยว ขนมขบเคี้ยว ขนมอบ เครื่องปรุงรส เป็นต้น ต้องระบุประเภทอาหาร ในขั้นตอนการพิจารณาความปลอดภัย เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ประเมินพิจารณา อย่างไรก็ตามการพิจารณาประเภทอาหารที่จะอนุญาตให้ใช้อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลความปลอดภัยและความเหมาะสมของผู้บริโภค เนื่องจากการประเมินความปลอดภัยจะกำหนดปริมาณที่บริโภคต่อวัน ดังนั้นหากนำวัตถุดิบนั้นไปใช้ในอาหารหลายประเภทปริมาณที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารแต่ละประเภทรวมกันแล้วต้องไม่เกินปริมาณที่แนะนำให้บริโภคต่อวัน

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ กรณีพิจารณาประเมินความปลอดภัยอาหารใหม่ และสามารถอนุญาตเป็นส่วนประกอบในอาหาร ได้  ผลการพิจารณาจะมีรายละเอียดดังนี้

        1. สายพันธุ์ และส่วนที่ใช้ (กรณีส่วนประกอบเป็นพืช สัตว์ จุลินทรีย์)
        2. กรรมวิธีการผลิต
        3. ข้อกำหนดคุณภาพมาตรฐาน
        4. เงื่อนไขการใช้ที่อนุญาต ประกอบด้วย ประเภทอาหาร ปริมาณที่อนุญาตการใช้
        5. การแสดงข้อความคำเตือน (กรณีผลการพิจารณาความปลอดภัย พบว่ามีความจำเป็นต้องแสดงคำเตือนสำหรับผู้บริโภคเพิ่มเติม)

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

       

      ตอบ การพิจารณาความปลอดภัย เป็นการพิจารณาจากข้อมูลผลิตภัณฑ์และงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ผลการพิจารณา จะถือเป็นการอนุญาตผลิตภัณฑ์ตามที่ได้ยื่นข้อมูลพิจารณา โดยเป็นการแจ้งตอบเฉพาะบริษัทฯ ที่เป็นผู้ยื่นขอประเมินเท่านั้น หากบริษัทอื่นจะใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารต้องยื่นประเมินความปลอดภัยไม่เข้าข่ายอาหารใหม่ เป็นรายๆ ไป

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ กรณีลูกค้าของบริษัทฯที่ใช้วัตถุดิบที่ผ่านการประเมินความปลอดภัยแล้ว โดยบริษัทผู้ยื่นประเมินความปลอดภัยให้ความยินยอมแล้วสามารถกระทำได้ โดยต้องมีหนังสือแจ้งตอบของบริษัทดังกล่าวมาประกอบการขออนุญาต

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​40 วันทำการ โดยเริ่มนับตั้งแต่ผู้ขอประเมินยื่นรายงานผลการพิจารณาความปลอดภัยเข้าสู่ระบบ e-submission มีค่าใช้จ่ายในการยื่นคำขอ คำขอละ 3,000 บาท   

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ดำเนินการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหารหรือส่วนประกอบ ดังนี้

      1. ตรวจสอบว่าวัตถุดิบดังกล่าวมิได้อยู่ในบัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 424) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง กำหนดอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย (Negative list) และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
      2. ตรวจสอบจากบัญชี Positive lists ประกอบด้วย บัญชีแนบท้ายประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรื่อง ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง คำแนะนำการใช้ส่วนประกอบสำคัญในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร บัญชีแนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง ชาจากพืช และบัญชีรายชื่อส่วนประกอบที่อนุญาตให้ใช้ในอาหาร ประเภทเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ยกเว้นเครื่องดื่มที่ผสมกาเฟอีน) และกาแฟ
      3. ติดต่อกลุ่มกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาด

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ​ตอบ ยื่นคำขอทวนสอบการเป็นอาหารใหม่ (Novel food)​ ผ่านทางระบบ e-submission หัวข้อการประเมินความปลอดภัยอาหาร ค่าคำขอ 3,000 บาท

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ตรวจสอบการอนุญาตกับกลุ่มกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาด กรณีพบการอนุญาตในอาหารประเภทอื่น ให้ส่งข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบนั้น ๆ เช่น คุณภาพมาตรฐาน (Specification) กระบวนการผลิต เป็นต้น เพื่อให้ อย. พิจารณา โดยทำเป็นหนังสือ ถึงเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อหารือการใช้ส่วนประกอบดังกล่าว

               หากพิจารณาแล้วมีความจำเป็นต้องยื่นประเมินความปลอดภัยซึ่งไม่เข้าข่ายอาหารใหม่ หัวข้อ 9.3.3.1 (​การขอประเมินความปลอดภัยอาหารที่ไม่เข้าข่ายอาหารใหม่ (Novel food)

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ กรณีจะใช้วัตถุดิบซึ่งเคยผ่านการประเมินความปลอดภัยและได้รับอนุญาตจากอย. เรียบร้อยแล้ว ในผลิตภัณฑ์อาหารชนิดอื่น ๆ หรือเพิ่มปริมาณ ให้ทำหนังสือถึงเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ หากพิจารณาแล้วว่า มีความจำเป็นต้องยื่นประเมินความปลอดภัย ให้ดำเนินการยื่นประเมินความปลอดภัย หัวข้อ 9.3.3.1 (​การขอประเมินความปลอดภัยอาหารที่ไม่เข้าข่ายอาหารใหม่ (Novel food) ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยายังไม่เคยอนุญาต) 

       

      link.png   การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      7879808182
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup