อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ความร้อนที่อุณหภูมิต่ำกว่า 300 องศาเซลเซียส ไม่สามารถทำให้สารละลายไอโอดีนสลายหายไปได้ อ้างอิงผลการศึกษาของสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (การศึกษาของ ศาสตราจารย์ ดร.วิสิฐ จะวะสิต และคณะ (2544) ในวารสาร JOURNAL OF FOOD COMPOSITION AND ANALYSIS (2002) 15, 265–276) โดยศึกษาผลของความร้อนในครัวเรือนต่อการสูญเสียไอโอดีน ซึ่งพบว่าความร้อนแบบต่างๆ เช่นการต้ม การนึ่ง การทอด การอบ และการบรรจุกระป๋อง ไม่ได้ทำให้ไอโอดีนสูญหายไป แต่การสูญเสียไอโอดีนนั้นจะขึ้นอยู่กับภาชนะและสารที่ใช้เติมในผลิตภัณฑ์อาหารมากกว่า เช่นการใช้ภาชนะทองเหลือง หรือการเติมสารฟอกขาว พบว่ามีการสูญเสียไอโอดีนมาก แต่ถ้าเป็นอลูมิเนียมหรือแก้วจะไม่สูญเสียไอโอดีน ยกเว้นการเติมกรดบางชนิดลงไป จะทำให้เกิดการสูญเสียได้  และการศึกษาของ รองศาสตราจารย ดร.ครรชิต จุดประสงค์ (2557) ที่ศึกษาเปรียบเทียบการผลิตเกลือบรรจุถุงพร้อมจำหน่ายตั้งทิ้งไว้เป็นระยะเวลา 6 เดือน พบว่าไอโอดีนไม่ได้มีการสูญหายไป ถ้าหากมีการเขย่าถุงก่อนการทดสอบ  โดยถุงที่มีขนาดใหญ่ (5-7 กก.) จะพบว่ามีการไหลของน้ำที่มีไอโอดีนลงจากด้านบนลงสู่ด้านล่างเท่านั้น โดยเฉพาะการนำไปตากแดด  ดังนั้น ก่อนบริโภคหรือนำไปตรวจวิเคราะห์ จึงควรเขย่าหรือคลุกเคล้าให้เข้ากันก่อนนำเกลือไปใช้งานทุกครั้ง

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ​ปัจจุบัน การตรวจสอบปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีนมีเพียงวิธี Inductively Coupled Plasma Mass Spectrometry (ICP-MS) เท่านั้น ยังไม่มีวิธีการทดสอบอย่างง่ายที่ผู้ประกอบการสามารถใช้ตรวจสอบเองได้ ผู้ประกอบการจึงจำเป็นต้องส่งผลิตภัณฑ์ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณไอโอดีน ณ ห้องปฏิบัติการของภาครัฐ หรือเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 17025

               ทั้งนี้ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้จัดทำ “เครื่องมือช่วยคำนวณการเสริมไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน” เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้ประกอบการสามารถตรวจสอบและคำนวณปริมาณสารละลายโพแทสเซียมไอโอเดตที่ใช้เติมในผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายมีปริมาณไอโอดีนเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย นอกจากนี้ ผู้ประกอบการควรทราบปริมาณไอโอดีนตั้งต้นของหัวเชื้อผลิตภัณฑ์ก่อน เพื่อให้เกิดความแม่นยำในการเสริมไอโอดีนลงในผลิตภัณฑ์
      รายละเอียดตามลิงค์  link.png เลือกที่ เครื่องมือช่วยคำนวณ & คู่มือ

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ การพิจารณาขยายช่วงของปริมาณไอโอดีนที่กำหนดให้มีในผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีนอยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลจากผลศึกษาความเบี่ยงเบนของการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ปรุงรสฯ โดยได้รับความอนุเคราะห์จากสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และข้อมูลผลการสำรวจสถานการณ์การได้รับไอโอดีนในประชากรทุกกลุ่มวัย โดยกรมอนามัย เพื่อนำข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นเหล่านี้มาประกอบการพิจารณา ทั้งนี้ คาดว่าการพิจารณาดังกล่าวจะดำเนินการแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ.2569

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ​ตอบ การเสริมไอโอดีนในเกลือบริโภคที่เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายนั้น สามารถควบคุมปริมาณไอโอดีนให้อยู่ในช่วงตามข้อกำหนดของกฎหมายได้ง่ายและสะดวกกว่าการต้ม เนื่องจากไอโอดีนจะเกาะอยู่รอบๆ ผลึกเกลือเท่านั้น หลังการต้มเกลือที่ปล่อยให้เกลือแห้งนั้นก็จะทำให้การต้มในแต่ละครั้งมีปริมาณไอโอดีนที่เกาะผลึกเกลือไม่สม่ำเสมอกัน นอกจากนี้การเติมสารโพแทสเซียมไอโอเดตลงไปในระหว่างการต้มเกลือนั้น จะทำให้เกลืออาจเป็นสีเหลืองได้ง่าย เมื่อเก็บเป็นระยะเวลานาน ประกอบกับหากยังไม่ถึงจุดอิ่มตัวที่ทำให้เกิดผลึกของเกลือโซเดียมคลอไรด์ โพแทสเซียมอาจไปเกาะกับคลอไรด์เกิดเป็นโพแทสเซียมคลอไรด์แทนได้ 

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ​สารโพแทสเซียมไอโอเดท (potassium iodate) อนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะเพื่อปรับสภาวะโภชนาการเกี่ยวกับการขาดสารไอโอดีนเท่านั้น ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเห็นชอบ ดังนั้นหากผู้ประกอบการประสงค์จะนำเข้าเพื่อจำหน่ายในวัตถุประสงค์เพื่อปรับสภาวะโภชนาการเกี่ยวกับการขาดสารไอโอดีน โดยนำไปจำหน่ายให้แก่ผู้ผลิตเกลือเสริมไอโอดีนและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน จำเป็นต้องจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งมีหนังสือถึงสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเพื่อขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ 1. บริษัท เคมีเอเซีย จํากัด ราคา 2000 บาท ติดต่อ 083-7115353 หรือ 088-4948181

               2. บริษัท เออีซี เคมเทรด จำกัด ราคา 1900 บาท ติดต่อ 064-6546515

      ข้อมูล ณ วันที่ 22 มิถุนายน 2565

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ 

      ลำดับ

      ห้องปฏิบัติการ

      เบอร์ติดต่อ

      วิธีการตรวจวิเคราะห์

      ตัวอย่าง

      (เสริมไอโอดีน)

      ราคา

      (บาท)

      หมายเหตุ

      1 ​

      กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ​

      02-951-1021 ​

      Titration

      เกลือบริโภค

      600

      -

      ICP-MS

      ผลิตภัณฑ์ปรุงรส

      4,700

      -

      2

      สถาบันโภชนาการ มหิดล  

      02-800-2380 ต่อ 406, 418  

      Titration

      เกลือบริโภค

      400

      +ค่าเตรียมตัวอย่าง 200 บาท

      ICP-MS

      ผลิตภัณฑ์ปรุงรส

      -

      รอการพิจารณา

      3

      บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง

      (ประเทศไทย) จำกัด

      02-940-68819 ต่อ 3

      Titration

      เกลือบริโภค

      1,200

      ราคาไม่รวม vat

      4 ​

      บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกัด ​

      02-161-4265 ​

      Titration

      เกลือบริโภค

      2,170

      ราคาไม่รวม vat

      ICP-MS

      ผลิตภัณฑ์ปรุงรส

      2,000 – 2,500

      ราคาไม่รวม vat

      ข้อมูล ณ วันที่ 5 กรกฎาคม 2565

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ​ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 กำหนดให้มีคุณภาพหรือมาตรฐานสอดคล้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง โดยต้องมีผลการตรวจวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการของรัฐ หรือห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองระบบงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ ​สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้เคยให้การสนับสนุนสารโพแทสเซียมไอโอเดตแก่ผู้ประกอบการเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ทั้งนี้ ปัจจุบันไม่มีนโยบายให้การสนับสนุนสารดังกล่าวแล้ว แต่มีนโยบายในการสนับสนุน ส่งเสริม และช่วยเหลือผู้ประกอบการด้านอื่นแทน เช่น พัฒนาองค์ความรู้ด้านการควบคุมกระบวนการผลิตและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอดีน

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      ตอบ เอกสารประกอบการยื่นขอความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีดังนี้

      1. หนังสือขอความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการอหารและยา

      2. ขั้นตอน/วิธีการผลิต

      3. คุณลักษณะของวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์

      4. ผลการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในผลิตภัณฑ์ย้อนหลัง (2-3 ปี)

      ทั้งนี้  เมื่อกรอกข้อมูลและจัดเตรียมเอกสารเรียบร้อยแล้ว สามารถส่งเอกสารมายังกลุ่มพัฒนาระบบ กองอาหาร ตึกเงินทุนหมุนเวียนยาเสพติด ห้องคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ชั้น 6 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 หรือ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์  iodinethailand@gmail.com

       

      link.png   เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน

      8081828384
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup