อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย
      • การแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ข้อกำหนด หอย และหมึก อ้างอิงมาจาก Mollusks หรือ อาจเรียกว่า molluscs เป็นชื่อสามัญ ของสัตว์น้ำ ในไฟลัมมอลลัสกา (mollusca) สัตว์น้ำ ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย หอย และ ปลาหมึก

                 ปลาหมึก หรือ หมึก คือ สัตว์น้ำเค็มที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ประเภทของหมึก เช่น  หมึกกระดอง (Cuttlefish, Rainbow Cuttlefish) ชื่อวิทยาศาสตร์ Sepia brevimana, Sepia pharaonis  หมึกหอม / หมึกตะเภา (Soft Cuttlefish) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sepioteuthis lessoniana  หมึกยักษ์หรือหมึกสาย (Octopus) ชื่อวิทยาศาสตร์ Octopus membranaceous และหมึกกล้วย (Squid / Splendid Squid) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Loligo spp. Loligo formosana

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      ตอบ  ใช้แนวทางตาม General Standard for Food  Additive ของโคเด็กซ์  ซึ่งกำหนดไว้ในคู่มือข้อกำหนดการใช้วัตถุเจือปนอาหารตามมาตรฐานทั่วไปสำหรับวัตถุเจือปนอาหารของโคเด็กซ์ (GSFA) และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 281) พ.ศ. 2547 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร และประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรื่องข้อกำหนดการใช้วัตถุเจือปนอาหาร และประกาศฯที่เกี่ยวข้อง ร่วมกัน

              ทั้งนี้ผู้ประกอบการที่ผลิตหรือนำเข้าวัตถุเจือปนอาหารจะต้องแสดงฉลากตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 363) พ.ศ. 2556 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับ 2) ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยและประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 372) พ.ศ. 2558 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 3)   อยู่แล้ว ซึ่งจะต้องปฏิบัติแสดงชื่อกลุ่มหน้าที่ร่วมกับชื่อเฉพาะหรือ INS Number  ดังนั้นผู้ผลิตอาหารที่ใช้วัตถุเจือปนอาหารนั้นเป็นส่วนประกอบสามารถทราบได้ว่าวัตถุเจือปนอาหารดังกล่าวมีกลุ่มหน้าที่ และชื่อเฉพาะหรือ INS Number ใด

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      ตอบ   การพิจารณาว่ามีวัตถุเจือปนอาหารติดมากับวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอาหาร เป็นส่วนประกอบของอาหารในปริมาณที่เกิดผลตามวัตถุประสงค์ของการใช้วัตถุเจือปนอาหาร อาจพิจารณาได้ดังนี้

      1. เข้านิยามของวัตถุเจือปนอาหารที่ตกค้างหรือติดมากับอาหาร (Carry Over of Food Additives into Foods) หรือไม่ โดยมีเงื่อนไข ดังนี้

      1.1 เป็นวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้ในวัตถุดิบหรือส่วนประกอบอื่นของอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าเรื่องวัตถุเจือปนอาหาร

      1.2 เมื่อนำวัตถุดิบหรือส่วนประกอบตามข้อ 1.1 มาใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารปริมาณของวัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ในวัตถุดิบหรือส่วนประกอบของอาหาร ต้องไม่เกินค่าปริมาณการใช้สูงสุดของวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้ตามประกาศกระทรวงสาธารณาสุขว่าเรื่องวัตถุเจือปนอาหาร ตามข้อ 2

      1.3 เมื่อนำวัตถุดิบหรือส่วนประกอบตามข้อ 1.1 มาใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารปริมาณวัตถุเจือปนอาหารที่ตกค้างมาจากวัตถุดิบหรือส่วนประกอบของอาหาร จะต้องไม่เกินปริมาณการใช้สูงสุดของวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้ในวัตถุดิบหรือส่วนประกอบนั้นๆ และเป็นไปตามหลักการของความเหมาะสมทางด้านเทคโนโลยีการผลิตและหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิต รวมทั้งต้องสอดคล้องตามประกาศกระทรวงสาธารณาสุขว่าเรื่องวัตถุเจือปนอาหาร

      2.  กำหนดวิธีการคำนวณปริมาณวัตถุเจือปนอาหารที่ตกค้างมาจากวัตถุดิบหรือส่วนประกอบขอองหาร จะคำนวณตามสัดส่วนที่มีการใช้จริง และตรวจสอบปริมาณที่คำนวณได้เป็นไปตามเกณฑ์ในข้อ 1.2 และต้องพิสูจน์ว่าปริมาณวัตถุเจือปนอาหารที่คำนวณจากสัดส่วนวัตถุดิบที่ใช้ไม่มีผลทางเทคโนโลยี หรือมีผลต่อคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์สุดท้าย โดยอาจมีพิจารณาดังนี้

      2.1 ปริมาณวัตถุเจือปนอาหารที่คำนวณต่ำกว่าปริมาณสูงสุดที่ใช้ในกฎหมายของสารนั้น (ตัวเลขที่ได้ต้องไม่เกินปริมาณต่ำสุดของวัตถุเจือปนอาหารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหาร เช่น Benzoate อนุญาตให้ใช้ในอาหารหลายชนิด  โดยกำหนดช่วงระหว่างไม่เกิน 200 ppm  ถึง ไม่เกิน 5000 ppm อาจสรุปได้ว่าปริมาณที่คำนวณได้ต่ำกว่า 200 ppm แสดงว่าไม่มีผลทางด้านเทคโนโลยี)  และ

      2.2 มีข้อมูลทางวิชาการที่บ่งชี้ว่าปริมาณที่คำนวณได้ต่ำกว่าระดับที่ให้ใช้ผลทางเทคโนโลยีในอาหารนั้น โดยอ้างอิงข้อมูลวิชาการเกี่ยวกับวัตถุเจือปนอาหาร เช่น รายงานการวิจัย Text book วารสาร บทความทางวิชาการที่ศึกษาผลทางเทคโนโลยีของวัตถุเจือปนอาหารชนิดนั้นๆ หรือผลทดสอบทางประสาทสัมผัส (sensory evaluation) กรณีวัตถุเจือปนอาหารที่มีผลต่อลักษณะทางกายภาพของอาหาร เช่น สี รสชาติ เป็นต้น

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      ตอบ   หากไม่เกิดผลตามวัตถุประสงค์ต่อผลิตภัณฑ์สุดท้ายไม่ต้องแสดงข้อมูลวัตถุเจือปนอาหาร

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      ตอบ  ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 450) ฯ ยกเลิกข้อกำหนดการแสดง “สีธรรมชาติ” และ “สีสังเคราะห์”แล้ว ผู้ประกอบการสามารถแสดงหน้าที่ “สี” แล้วตามด้วยชื่อเฉพาะ หรือ INS Number ได้ ทั้งนี้หากผู้ประกอบการมีความประสงค์จะแสดง “สีธรรมชาติ” หรือ “สีสังเคราะห์” ด้วยก็ได้  ทั้งนี้หากมีการใช้ทั้งสีสังเคราะห์และสีธรรมชาติในอาหารชนิดเดียวกัน ก็ต้องระบุทั้ง สีสังเคราะห์ตามด้วยชื่อเฉพาะ หรือ INS Number และ สีธรรมชาติตามด้วยชื่อเฉพาะ หรือ  INS Number การให้ระบุที่ฉลากก็เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจเลือกซื้อของผู้บริโภค

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      ตอบ   หากประกาศกระทรวงสาธารณสุขกำหนดห้ามใช้สารให้ความหวาน หรือวัตถุกันเสียในอาหารที่มีประกาศกำหนดห้ามใช้  ต้องพิจารณาเป็นกรณีไป เช่น วัตถุดิบนั้นอนุญาตให้ใช้วัตถุเจือปนอาหารและพิสูจน์ได้ว่าติดมากับวัตถุดิบไม่ได้ใส่ในผลิตภัณฑ์สุดท้าย เช่น โยเกิร์ตใส่แยม วัตถุกันเสียติดมาในแยม และปริมาณที่ใช้ต้องไม่มีผลต่อผลิตภัณฑ์สุดท้าย 

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      ตอบ  “สีธรรมชาติ” หมายถึง สีที่ได้มาจากธรรมชาติ โดยความหมายของสีธรรมชาติหมายถึงสีที่ได้จากพืช สัตว์ แร่ธาตุ หรือจุลินทรีย์ ผ่านกระบวนการแบบดั้งเดิมหรือกรรมวิธีทางกายภาพหรือกระบวนการทางเคมี ซึ่งกระบวนการหรือกรรมวิธีดังกล่าวไม่เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของสีที่มีตามธรรมชาติ [1]

           “สารสกัดให้สีจากส่วนของพืชหรือสัตว์” หมายถึง สารให้สีที่ได้จากส่วนต่างๆ ของ พืช เช่น ราก ใบ ผล เปลือกดอก หรือส่วนต่างๆของสัตว์ซึ่งมีประวัติการบริโภค เป็นอาหารและได้จากวิธีทางกายภาพหรือสกัดด้วยน้ำเท่านั้น ทั้งนี้ในกระบวนการ ผลิตจะต้องไม่มีขั้นตอนใด ๆ ที่ทําให้สารที่ให้สีดังกล่าว
      มีความบริสุทธิ์ขึ้นจากที่มีในธรรมชาติโดยอาจอยู่ในรูปของเหลวเข้มข้น หรือกึ่งแข็งกึ่งเหลว หรือผง หรือ ของแข็ง และอาจมีการเติมส่วนประกอบอื่น เช่น วัตถุเจือปนอาหาร หรือวัตถุอื่น ที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อประโยชน์ในกระบวนการผลิต คุณลักษณะของเหลวเข้มข้น
      , ของกึ่งแข็งกึ่งเหลว, ผงหรือของแข็ง


      [1]ที่มา: The Natural Food Colours Association: NATCOL (Category N1 และ N2]

       

      ตัวอย่างสีธรรมชาติตามนิยามข้างต้น

      INS 100 (i) 

      Curcurmin

      INS 101 (iii) 

      Riboflavin from Bacillus subtilis

      INS 101 (iv)

      Riboflavin from Ashbya gossypii

      INS 120 

      Carmines

      INS 140

      Chlorophylls

      INS 141 (i) 

      Chlorophylls, copper complexes

      INS 141 (ii)

      Chlorophyllin copper complexes, potassium and sodium salts

      INS 150a

      Caramel I-plain caramel

      INS 150b 

      Caramel II-sulfite caramel

      INS 150c 

      Caramel III-Ammonia caramel

      INS 150d

      Caramel IV-Sulfite ammonia caramel

      INS 160a (ii)

      beta-Carotenes, vegetable

      INS 160a (iii)

      beta-Carotene, Blakeslea trispora

      INS 160b (i)

      Annatto extracts, bixin based

      INS 160b (ii)

      Annatto extracts, norbixin based

      INS 160c (i)

      Paprika oleoresin

      INS 160c (ii)

      Paprika extract

      INS 160d (ii)

      Lycopene, Tomatoes

      INS 160d (iii) 

      Lycopene, Blakeslea trispora

      INS 161b (i)

      Lutein from Tagetes erecta

      INS 161b (iii)

      Lutein esters from Tagetes erecta

      INS 162 

      Beet Red

      INS 163 (ii)         

      Grape skin extract

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      ตอบ 1.ต้องพิจารณาว่าเข้านิยามของสารที่ช่วยในกระบวนการผลิตหรือไม่

      “สารช่วยในการผลิต” หมายความว่า สารหรือวัตถุใดซึ่งมิได้ใช้บริโภคในลักษณะเป็นส่วนประกอบของอาหาร แต่ใช้ในกระบวนการผลิตวัตถุดิบหรือส่วนประกอบของอาหาร   เพื่อให้เป็นไปตามเทคโนโลยีระหว่างการปรับคุณภาพหรือการแปรรูป โดยอาจจะมีสารหรืออนุพันธุ์ของสารนั้นเหลือตกค้างในผลิตภัณฑ์ได้โดยไม่ตั้งใจและไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ทั้งนี้ไม่รวมถึงเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต 

      2.  พิจารณาเงื่อนไขหากเข้าข่ายกรณีนี้ไม่ต้องแสดงฉลากวัตถุเจือปนอาหาร ดังนี้

      2.1 มีหน้าที่เป็น processing aid และสารหรือวัตถุใดที่ถูกนำมาใช้ในระหว่างการผลิตวัตถุดิบ/ส่วนประกอบหรืออาหารมีการใช้ในระหว่างกระบวนการผลิต (ตรวจสอบจาก IPA) และ

      2.2 มีขั้นตอนหรือวิธีการกำจัดหรือลดปริมาณสารหรือวัตถุหรืออนุพันธ์ของสารที่ตกค้างในผลิตภัณฑ์สุดท้ายหรือปริมาณของสารไม่ส่งผลต่อลักษณะหรือคุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้ายนั้น โดยปริมาณตกค้างนั้นต้องไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

       

      ตอบ วัตถุเจือปนอาหารจัดเป็นส่วนประกอบอาหารในการผลิตอาหาร ดังนั้นต้องแสดงต่อจากส่วนประกอบที่สำคัญของอาหาร  

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      ตอบ ส่วนประกอบสำคัญเป็นข้อกำหนดตาม ข้อ5 (5) แต่การแสดงข้อมูลวัตถุเจือปนอาหาร เป็นข้อกำหนดตามข้อ 5 (7) ดังนั้นต้องแสดงทุกชนิดที่มีการใช้ในอาหาร

       

      link.png   การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ

      678910
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup