อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      banner

      คำถามที่พบบ่อย

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย
      • กระบวนการผลิตอาหาร
      • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ 

      • กรณีเป็น "ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากแป้งและหมักด้วยยีสต์ให้ขึ้น แล้วอบ ซึ่งอาจจะผสมวัตถุอื่นที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น ลูกพรุน ลูกเกด ช็อกโกแลต เป็นต้น ส่วนที่ผสมลงไปอาจปนเป็นเนื้อเดียวกันกับขนมปังหรือไม่ก็ได้ แต่ทั้งนี้ไม่รวมขนมปังที่สอดไส้หรือใส่ไส้" ตามนิยามข้อ 3 ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 224) พ.ศ.2544 เรื่อง ขนมปัง จัดเป็น "อาหารที่ต้องมีฉลาก" ให้ใช้แนวทางการพิจารณาตามภาพที่ 1 สรุปได้ว่า "เข้าข่ายบังคับใช้ GMP 420"
      • กรณีเป็น "ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ นอกเหนือจาก "ขนมปัง"ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 224) พ.ศ.2544 เรื่อง ขนมปัง ซึ่งผู้ปรุงเป็นผู้จำหน่ายแก่ผู้บริโภคโดยตรง ได้รับการยกเว้นตามข้อ 6 (1) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 237) พ.ศ.2544 เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารพร้อมปรุงและอาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที จัดเป็น "อาหารพร้อมบริโภคทันที" อยู่ในกลุ่ม"อาหารที่ต้องมีฉลาก" ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องแสดงฉลากตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข(ฉบับที่ 237) พ.ศ.2544 กรณีพิจารณาว่าบังคับใช้ GMP 420 หรือไม่ ให้ใช้แนวทางการพิจารณาตามภาพที่ 1 สรุปได้ว่า "บังคับใช้ GMP 420"

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท เป็นอาหารกำหนดคุณภาพมาตรฐาน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 284) พ.ศ.2547 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 5) ให้ใช้แนวทางการพิจารณาตามภาพที่ 1 สรุปได้ว่า "เข้าข่ายบังคับใช้ GMP 420" ทั้ง 2 กรณี
      • ทั้งนี้หากมีการนำผลิตภัณฑ์ไปวางจำหน่ายที่อื่นจะต้องของรับเลขสารบบอาหารด้วย ซึ่งยังคงไว้ตามเงื่อนไขเดิมไม่เปลี่ยนแปลง

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • กรณี "ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้ารายใหม่" คือ ผู้ที่ยังไม่มีใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2) หรือใบสำคัญเลขสถานที่ผลิตอาหารกรณีไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1/1) หรือใบอนุญาตนำหรือสั่งอาหารเข้ามาในราชอาณาจักร (แบบ อ.7) ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศฯ ตั้งแต่วันที่ 11 เมษายน 2564 เป็นต้นไป
      • กรณี "ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้ารายเก่า" คือ ผู้รับใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2) หรือ คําขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1) หรือใบสำคัญเลขสถานที่ผลิตอาหารกรณีไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1/1) หรือใบอนุญาตนำหรือสั่งอาหารเข้ามาในราชอาณาจักร (แบบ อ.7) ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ มีระยะเวลาผ่อนผันให้ปรับปรุง แก้ไข สถานที่ หรือจัดให้มีเอกสารหรือใบรับรองมาตรฐานระบบการผลิตอาหารให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดนี้ภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ โดยต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศฯ ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ประกอบการและภาระงานของเจ้าหน้าที่ จึงผ่อนผันให้ "สถานที่ผลิตอาหารที่ผ่านการตรวจประเมินตามหลักเกณฑ์เดิมก่อนที่ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร มีผลบังคับใช้ ให้ผลการตรวจประเมินยังคงใช้ได้หนึ่งปีนับแต่วันที่มีผลการตรวจประเมินผ่านตามหลักเกณฑ์ หากพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าว การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดตามประกาศนี้" ตามที่ระบุในข้อ 9 วรรคสุดท้าย ของประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร
      • ทั้งนี้ได้จัดทำ timeline การบังคับใช้ GMP กฎหมายในช่วงเปลี่ยนผ่าน เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ดังภาพ timeline ช่วงเปลี่ยนผ่านการบังคับใช้ข้อกำหนด GMP กฎหมาย

      gmp-24.jpg

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • เป็นผู้ประกอบการ "รายเก่า" หรือ "รายใหม่" ให้พิจารณาจากวันที่ที่ระบุใน "ใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2)" หรือ "ใบสำคัญเลขสถานที่ผลิตอาหารกรณีไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1/1)" หรือ "ใบอนุญาตนำหรือสั่งอาหารเข้ามาในราชอาณาจักร (แบบ อ.7)" ก่อนหรือหลังวันที่ 11 เม.ย.64 ถ้าลงวันที่ก่อน 11 เม.ย.64 ก็ถือเป็น "รายเก่า"
      • แม้มีการยื่นคำขออนุญาตสถานที่ผลิตก่อน 11 เม.ย.64 ก็ตาม แต่สถานที่ผลิตนั้นยังไม่ได้รับ"ใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2)" หรือ "ใบสำคัญเลขสถานที่ผลิตอาหารกรณีไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1/1)" ก็ยังถือเป็น "รายใหม่" ตาม ปสธ.420 การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตั้งแต่วันที่ 11 เม.ย.64 เป็นต้นไป ต้องตรวจประเมินตามข้อกำหนด GMP 420

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ 

      • การตรวจประเมินเพื่อบังคับใช้กฎหมาย ขอให้ใช้ timeline ในภาพที่ 3 ประกอบการพิจารณา สรุปได้ว่า "ให้ตรวจประเมินตามข้อกำหนด GMP ฉบับเดิม โดยใช้แบบฟอร์มเดิม จนถึงวันที่ 6 ต.ค.64 ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 7 ต.ค.64 เป็นต้นไปต้องตรวจประเมินตามข้อกำหนด GMP 420
      • หากผู้ผลิตอาหารมีความพร้อมและแสดงความประสงค์จะขอรับการตรวจประเมินตาม GMP 420 ก่อนกำหนดระยะเวลาผ่อนผันการบังคับใช้ ก็สามารถกระทำได้ อย่างไรก็ตามกรณีผลการตรวจพบข้อบกพร่องตาม GMP 420 ผู้ผลิตอาหารรายเก่ายังได้รับสิทธิ์ในการผ่อนผันการแก้ไขได้ภายในวันที่ 7 ต.ค.64 ให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อบกพร่องไว้ และพิจารณาแผนการแก้ไข โดยการแก้ไขต้องแล้วเสร็จภายในวันที่ 7 ต.ค.64 เพื่อประกอบการตัดสินผลการตรวจประเมินหรือตัดสินให้การรับรองสถานที่ผลิต

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ  ถือเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งออกตามความในมาตรา 6 (7) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522  มีโทษตามมาตรา 49 ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ อัตราการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายอ้างอิงตามตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ค่าใช้จ่ายที่จะจัดเก็บจากผู้ยื่นคำขอในกระบวนการพิจารณาอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร โดยคิดอัตราค่าใช้จ่ายตามขนาดแรงม้าของเครื่องจักรที่ใช้ และจำนวนคนงาน จึงมีอัตราเรียกเก็บคงเดิมถึงแม้จะเปลี่ยนข้อกำหนดใหม่ก็ตาม รายละเอียดค่าใช้จ่าย สรุปได้ดังตารางอัตราค่าใช้จ่ายที่จะจัดเก็บจากผู้ยื่นคำขอในกระบวนการพิจารณาและตรวจสถานประกอบการด้านอาหาร

      รายการ ​ หน่วยนับ

      อัตราค่าใช้จ่ายที่จะจัดเก็บ (บาท)

      (1)  ไม่เกิน 5 แรงม้า   และคนงาน 1-6 คน ​ ฉบับละ 3,000
                (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)) ฉบับละ 1,500
      (2)  มากกว่า 5 แรงม้าแต่ไม่เกิน 20 แรงม้า หรือคนงาน 7-50 คน ​ ฉบับละ 5,000
                (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)) ฉบับละ 2,500
      (3)  มากกว่า 20 แรงม้าแต่ไม่เกิน 50 แรงม้า หรือคนงาน 51-100 คน ​ ฉบับละ 10,000
                (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)) ฉบับละ 5,000
      (4)  มากกว่า 50 แรงม้าแต่ไม่เกิน 100 แรงม้า หรือคนงาน 101-200 คน ​ ฉบับละ 15,000
                (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)) ฉบับละ 7,500
      (5)  มากกว่า 100 แรงม้า หรือคนงานมากกว่า 200 คน ​ ฉบับละ 20,000
                (กรณีตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit)) ฉบับละ 10,000

      หมายเหตุ : 

      • เป็นอัตราค่าใช้จ่ายเฉพาะกรณีขอรับการพิจารณาและตรวจสถานประกอบการด้านอาหารจาก อย. หรือ สสจ. เท่านั้น
      • กรณีขอรับการพิจารณาและตรวจสถานประกอบการด้านอาหาร จากหน่วยตรวจและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหารที่ขึ้นบัญชีกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ให้อัตราค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างหน่วยตรวจและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหารกับผู้ยื่นคำขอ
      • กรณีตรวจครั้งแรก พบข้อบกพร่องที่จำเป็นต้องตรวจติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง (Follow-up Audit) ณ สถานประกอบการ ต้องชำระค่าตรวจประเมินฯ เพิ่มในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราเรียกเก็บปกติ

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ ประเภทของอาหารที่ผู้ผลิต ต้องจัดให้มีผู้ควบคุมการผลิตอาหาร ได้แก่

        1. การผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท น้ำแร่ธรรมชาติ และน้ำแข็งบริโภค ที่ผ่านกรรมวิธีการกรอง
        2. การผลิตผลิตภัณฑ์นมพร้อมบริโภคชนิดเหลว ที่ผ่านกรรมวิธีการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยวิธีพาสเจอไรซ์
        3. การผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำ และชนิดที่ปรับกรด ที่ผ่านกรรมวิธีการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนโดยทำให้ปลอดเชื้อเชิงการค้า

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      ตอบ  มีการเปลี่ยนแปลงข้อกำหนด สรุปได้ดังตารางที่ 2

      ข้อกำหนดเดิม (GMP 298 และ GMP 349) ข้อกำหนดใหม่ (GMP 420)
      1. กำหนดวุฒิการศึกษาในกรณีผลิตนมพาสเจอไรซ์ แต่ไม่ได้กำหนดในกรณีผลิตอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดที่มีความเป็นกรดต่ำ และชนิดที่ปรับกรด (LACF/AF) ไม่กำหนดวุฒิการศึกษา เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการรายเล็กสามารถผลิตอาหารให้เป็นไปตามกฎหมาย
      2. ต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตฯ กับ อย. หรือหน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย. สำหรับกรณีผลิตอาหาร LACF/AF ขณะที่กรณีผลิตนมพาสเจอไรซ์จะผ่านการอบรมจากหน่วยงานใดก็ได้ กำหนดให้ต้องสอบผ่านและสำเร็จหลักสูตรผู้ควบคุมการผลิตฯ กับ อย. หรือหน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย. ทุกกรณี
      3. มิได้ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ กำหนดให้ต้องทำหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ ควบคุมการผลิตอาหารทุกรุ่นการผลิต ให้ปลอดภัย และเป็นไปตามกฎหมาย รวมทั้งอยู่ประจำในสถานที่ผลิต
      4. มิได้ กำหนดให้ต้องมีการแต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษร กำหนดให้ต้องมีการแต่งตั้งเป็นลายลักษณ์อักษร

       

      link.png   การบังคับใช้ GMP กฎหมาย

      12345
      แสดงผล
        รายการ
        อย
        กองอาหาร

        FOOD DIVISION

        สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

        จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

        • Website Policy
        • Privacy Policy
        • Disclaimer

        รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

        Sitemap
        หน้าแรก
          กฎหมายอาหาร
          • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
          • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
          • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
          คู่มือสำหรับประชาชน
          • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
          • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
          บริการข้อมูล
          • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
          • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
          • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
          • คำถามที่พบบ่อย
          ข่าวสารประชาสัมพันธ์
          • ข่าวสารการบริการ
          • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
          • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
          • การอบรม / สัมมนา
          • รับสมัครงาน
          • ปฏิทินกิจกรรม
          เกี่ยวกับกองอาหาร
          • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
          • โครงสร้างหน่วยงาน
          สำหรับเจ้าหน้าที่
          • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
          • ระบบ e-saraban
          • จองห้องประชุม

          ผู้ชมเว็บไซต์ :

          rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
          • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
          • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
          Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

          no-popup