อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ  วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ในการผลิตช็อกโกแลตหรือผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต จะต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐาน (Specification) และข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้ตามที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารโดยพิจารณาข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้วัตถุเจือปนอาหารภายใต้หมวด 05.1.4 ผลิตภัณฑ์โกโก้และผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

       

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ไส้ด้านในของผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตสอดไส้ สามารถเป็นไอศกรีม ผลิตภัณฑ์ขนมอบ และขนมหวานที่มีแป้งเป็นส่วนประกอบหลักได้ ทั้งนี้ช็อกโกแลตที่ใช้หุ้มด้านนอกของผลิตภัณฑ์จะต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต และต้องมีสัดส่วนอย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของน้ำหนักรวมของผลิตภัณฑ์ รวมถึงต้องแยกจากส่วนที่เป็นไส้ด้านในอย่างชัดเจน

      • กรณีผลิตภัณฑ์ไอศกรีมให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยไอศกรีม โดยพิจารณาข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้วัตถุเจือปนอาหารภายใต้หมวด 01.7 ขนมหวานที่มีนมเป็นส่วนประกอบหลัก หรือ หมวด 02.4 ขนมหวานที่มีไขมันเป็นส่วนประกอบหลัก หรือ 03.0 ไอศกรีมหวานเย็น แล้วแต่กรณี
      • กรณีผลิตภัณฑ์ขนมอบให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยขนมปัง หรือ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการแสดงฉลากของอาหารพร้อมปรุงและอาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที แล้วแต่กรณี โดยพิจารณาข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้วัตถุเจือปนอาหารภายใต้หมวด 07.0 ผลิตภัณฑ์ขนมอบ (ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่)
      • กรณีผลิตภัณฑ์ขนมหวานที่มีแป้งเป็นส่วนประกอบหลักให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการแสดงฉลากของอาหารพร้อมปรุงและอาหารสำเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที โดยพิจารณาข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้วัตถุเจือปนอาหารภายใต้หมวด 06.5 ขนมหวานที่มีธัญชาติและสตาร์ชเป็นส่วนประกอบหลัก

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  สามารถใช้แอลกอฮอล์เพื่อเป็นวัตถุแต่งกลิ่นรส ซึ่งจะต้องมีปริมาณแอลกอฮอล์* ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของน้ำหนักช็อกโกแลตหรือผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต ทั้งนี้ต้องไม่ใช้เมทิลแอลกอฮอล์

      *แอลกอฮอล์ หมายถึง แอลกอฮอล์ที่มีรายชื่ออยู่ในบัญชี JECFA Specifications for Flavourings หรือ บัญชี GRAS Flavoring Substances ซึ่งจัดทำโดย FEMA (Flavor & Extract Manufacturers’ Association) รวมถึงสุราชนิดต่าง ๆ เช่น แชมเปญ เหล้ารัม ไวน์ บรั่นดี วิสกี้ สาเก

      และจะต้องแสดงข้อความดังต่อไปนี้บนฉลากของผลิตภัณฑ์

      (1) “มีแอลกอฮอล์ไม่เกิน …%” (ความที่เว้นไว้ให้ระบุปริมาณแอลกอฮอล์ เป็นร้อยละของน้ำหนัก) ด้วยตัวอักษรที่อ่านได้ชัดเจน

      (2) “เด็กและสตรีมีครรภ์ ไม่ควรรับประทาน” ด้วยตัวอักษรที่อ่านได้ชัดเจน

      ตัวอย่างเช่น: มีแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5%  เด็กและสตรีมีครรภ์ ไม่ควรรับประทาน

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  1. ไม่อนุญาตให้เติมแป้งหรือสตาร์ช* และไขมันสัตว์ที่ไม่ใช่ไขมันนม

      *ยกเว้นช็อกโกแลตกลุ่มอะลาทาซา (Chocolate a la taza) สามารถเติมแป้งหรือสตาร์ชที่ได้จากข้าวสาลี ข้าวโพด หรือข้าว ได้ไม่เกินปริมาณที่กำหนดในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

             2. ไม่อนุญาตให้ใช้วัตถุแต่งกลิ่นรสช็อกโกแลตและนม

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  เนื้อนม (Total Milk Solids) หมายถึง ปริมาณรวมของไขมันนมหรือมันเนย (Milk Fat) และ ธาตุน้ำนมไม่รวมมันเนย (non-fat milk solids) โดยอาจพิจารณาจากปริมาณรวมของนมและองค์ประกอบของนมที่นำมาผลิตช็อกโกแลต เช่น นม รวมถึงนมที่มีการปรับปริมาณไขมันนมหรือมันเนย (นมพร่องมันเนย นมขาดมันเนย ครีม) และองค์ประกอบของนม (เช่น โปรตีนนม น้ำตาลแลคโตส) ทั้งนี้ไม่รวมส่วนที่เป็นน้ำ หรือตรวจวิเคราะห์ของแข็งทั้งหมดในนม (Total Milk Solids) ซึ่งมีระบุไว้ในวิธีมาตรฐานสำหรับการตรวจวิเคราะห์อาหารของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  โกโก้ทั้งหมด (Total Cocoa Solids) หมายถึง ปริมาณรวมของโกโก้ปราศจากไขมัน (Fat-free Cocoa Solids) และไขมันโกโก้ (Cocoa Butter) โดยอาจพิจารณาจากปริมาณรวมของวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้ที่นำมาผลิตช็อกโกแลต เช่น เนื้อโกโก้บด (Cocoa mass) หรือ โกโก้ข้นเหลว (Cocoa liquor), โกโก้ผง (Cocoa powder), คาเคาผง (Cacao powder), ไขมันโกโก้ (Cocoa butter) 

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  พราลีน (Praline) หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตที่มีขนาดพอดีคำ (a single mouthful size) มีส่วนประกอบของช็อกโกแลตอย่างใดอย่างหนึ่งหรือรวมกัน โดยต้องมีส่วนประกอบของเนื้อช็อกโกแลต ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของน้ำหนักรวมของผลิตภัณฑ์

      พราลีน (Praline) a ขนาดพอดีคำ + เนื้อช็อกโกแลตไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของน้ำหนัก

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ช็อกโกแลตกลุ่มพารามีซา ได้แก่ ช็อกโกแลตพารามีซา (Chocolate para mesa), ช็อกโกแลตพารามีซา ชนิดขมเล็กน้อย (Semi-bitter chocolate para mesa) และช็อกโกแลตพารามีซา ชนิดขม (Bitter chocolate para mesa) หมายถึง ช็อกโกแลตที่มีส่วนประกอบของน้ำตาลที่มีขนาดใหญ่กว่า 70 ไมครอน ซึ่งจะต้องมีปริมาณวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้และปริมาณน้ำตาลที่มีขนาดใหญ่กว่า 70 ไมครอน ตามที่กำหนดไว้ในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต (ข้อ (12) หรือ (13) หรือ (14) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566)

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ช็อกโกแลตกลุ่มอะลาทาซา ได้แก่ ช็อกโกแลตอะลาทาซา (Chocolate a la taza)  และช็อกโกแลตอะลาทาซา ชนิดหวาน (Chocolate familiar a la taza) หมายถึง ช็อกโกแลตหรือช็อกโกแลตชนิดหวานที่มีส่วนประกอบของแป้งหรือสตาร์ชที่ได้จากข้าวสาลี ข้าวโพด หรือข้าว ซึ่งจะต้องมีปริมาณวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้และปริมาณแป้งหรือสตาร์ชตามที่กำหนดไว้ในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต  (ข้อ (3) หรือ (4) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566) ทั้งนี้สตาร์ชที่อนุญาตให้ใช้ มิได้หมายความรวมถึงสตาร์ชดัดแปร (modified starch) ซึ่งถูกพิจารณาเป็นวัตถุเจือปนอาหารและจะต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ช็อกโกแลตกลุ่มจิอานดูจา ได้แก่ ช็อกโกแลตจิอานดูจา (Gianduja Chocolate) และช็อกโกแลตนมจิอานดูจา (Gianduja Milk Chocolate) หมายถึง ช็อกโกแลตหรือช็อกโกแลตนมที่มีส่วนประกอบของเฮเซลนัทบดละเอียด ซึ่งจะต้องมีปริมาณวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้และปริมาณเฮเซลนัทบดละเอียดตามที่กำหนดไว้ในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต (ข้อ (10) หรือ (11) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566) ทั้งนี้อาจมีการเติมนัทชนิดต่าง ๆ เช่น อัลมอนด์ เฮเซลนัท ทั้งเมล็ดหรือเมล็ดหักเพิ่มเติม โดยปริมาณที่รวมกับเฮเซลนัทบดละเอียดแล้วไม่มากกว่าร้อยละ 60 ของปริมาณช็อกโกแลตทั้งหมด

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      5657585960
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup