อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ   ติดต่อโดยตรงกับหน่วยงานที่ทำหน้าที่ออกใบอนุญาต ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และแจ้งโปรแกรมเมอร์ (ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศ อย.) แก้ไขให้ถูกต้องก่อนยื่นคำขอ โดยใช้แบบฟอร์ม ศ.1

       

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ   ในเบื้องต้นให้ตรวจสอบด้วยตนเองก่อนว่ามีการนำเข้าข้อมูลการอนุญาตที่ผ่านมาแล้วหรือยัง โดยไปที่เว็บไซต์กองอาหาร เลือกหัวข้อ “ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร” พิมพ์เลขสารบบอหารที่เคยได้รับ หากไม่ปรากฏข้อมูลให้ติดต่อกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อให้นำเข้าข้อมูลการอนุญาตที่ผ่านมาสู่ระบบต่อไป

      กรณีสถานที่ตั้งอยู่ กทม. ให้ติดต่อกลุ่มกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาด

        • โทร. 0-2590-7187 
        • E-mail : food.esub@gmail.com
        • Line :  @food_e-submission

          line-oa.png

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ   อาหารที่เดิมต้องยื่นแบบ สบ.5 กรณีที่ไม่ต้องแจ้งสูตร ตั้งแต่ 1 ก.ค.2559 เป็นต้นไป ต้องเปลี่ยนมาเป็นแบบ สบ.7 ยื่นผ่านระบบ e-Submission ทางอินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางมาที่ สสจ. หรือ อย. ได้แก่

        • อาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ที่นอกเหนือจาก รอยัลเยลลีและผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท นมโค นมเปรี้ยว ไอศกรีม นมปรุงแต่ง ผลิตภัณฑ์ของนม กาแฟผสมหรือกาแฟปรุงสำเร็จผสม เครื่องดื่ม เกลือแร่
        • อาหารที่ต้องมีฉลาก
        • อาหารทั่วไป

       

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ  สามารถแก้ไขในระบบยืนยันตัวบุคคลกลาง (Open ID Service) ของ สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) โดยเลือกแก้ไขในข้อมูลส่วนบุคคล (สามารถแก้ไขข้อมูลที่อยู่ เบอร์โทร e-mail ได้)

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ   ต้องเตรียมเอกสารหลักฐาน เช่น บัตรประชาขน ที่แสดงว่าท่านเป็นผู้มีอำนาจจริงมาแจ้งขอใช้สิทธิ์กับเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือ อย. ก่อน

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ   ต้องยื่นหนังสือมอบอำนาจและหลักฐานประกอบเพื่อขอสิทธิ์เข้าใช้ระบบอาหารก่อน

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ   Open ID เป็นสิทธิ์ส่วนบุคคล ตามเลขบัตรประชาชน มิใช่หน่วยงาน ดังนั้นไม่มีการจำกัดจำนวนรหัสต่อสถานที่ผลิต ขึ้นอยู่กับสถานที่ผลิตนั้นๆว่าจะมอบอำนาจให้ผู้มายื่นคำขอกี่คน

      (ควรใช้ e-mail ส่วนตัว ตอนสมัคร Open ID เนื่องจากจะต้องยืนยันตัวบุคคลผ่านทาง e-mail ด้วย)

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ  Open ID ที่ได้จาก สรอ. จะสามารถใช้กับระบบสารสนเทศทุกระบบของ อย. ได้เลยโดยไม่ต้องขอใหม่ เพียงแต่ต้องยื่นหนังสือมอบอำนาจการยื่นคำขอด้านอาหารเพื่อขอเปิดสิทธิ์เข้าใช้งานระบบอาหาร โดยใช้หลักฐานตามคำตอบข้อ 2

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ  ติดต่อสอบถามสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) ผ่านทาง contact@ega.or.th หรือ โทรศัพท์ (+66) 0 2612 6060 ได้โดยตรง (ไม่ต้องติดต่อผ่าน อย. หรือ สสจ.)

       

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      ตอบ  การเข้าใช้งานระบบ e-Submission ต้องดำเนินการ 2 ข้อ (** สามารถทำข้อใดก่อนก็ได้ **)

      1. สร้างบัญชีผู้ใช้งานระบบ Open ID ผ่านระบบของสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) https://accounts.egov.go.th/ (หากมีปัญหาในการสมัครเพื่อสร้างบัญชีผู้ใช้งาน โปรดติดต่อ contact@ega.or.th หรือ โทร 0 2612 6060
      2. ยื่นหนังสือมอบอำนาจและหลักฐานประกอบเพื่อขอสิทธิ์เข้าใช้ระบบอาหาร (ยื่นแค่ครั้งเดียว จนกว่าหนังสือมอบอำนาจจะหมดอายุ)
        • กรณีสถานที่ที่ได้รับอนุญาตอยู่ต่างจังหวัดให้ติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) จังหวัดนั้นๆ
        • หากที่ตั้งอยู่ กทม. ให้ติดต่อที่ ศูนย์รับเรื่อง เข้า-ออก ด้านการบริการผลิตภัณฑ์สุขภาพ (OSSC) อาคาร 6 ชั้น 4 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ติดต่อสายด่วนโทร 02-5907606-7 หรือ 02-8215509
        • บริการตรวจสอบเอกสาร : LINE Official : @OSSC_FDA หรือ email : ossc@fda.moph.go.th

         โดยต้องยื่นหลักฐานการได้รับมอบอำนาจในการยื่นคำขออนุญาตด้านอาหาร ได้แก่

      1). หนังสือมอบอำนาจ ติดอากรแสตมป์ 30 บาท (30บาท/ผู้รับมอบอำนาจ)

          • กรณีผู้มอบอำนาจเป็นนิติบุคคล ผู้มอบอำนาจต้องครบถ้วนตามหนังสือรับรองนิติบุคคล เช่น กรรมการสองคนลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญของบริษัท เป็นต้น และต้องแนบหนังสือรับรองนิติบุคคลอายุไม่เกิน 6 เดือน หรือ ใบทะเบียนพาณิชย์ มาด้วย
          • ถ่ายเอกสารหนังสือมอบอำนาจ (ที่ติดอากรแสตมป์แล้ว 1 ฉบับ)

      2). สำเนาหน้าบัตรประชาชนที่ยังไม่หมดอายุ และอ่านได้อย่างชัดเจน ของ

          • ผู้มอบอำนาจ หรือ กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทได้
          • ผู้รับมอบอำนาจ (ผู้ยื่นคำขอ)

               (หลังจากยื่นหนังสือมอบอำนาจเจ้าหน้าที่จะเปิดสิทธิ์ให้ใช้ระบบอาหารเพื่อยื่นคำขอตามที่ได้รับมอบอำนาจไว้ตามระยะเวลาที่ระบุในหนังสือมอบอำนาจหากไม่ระบุจะกำหนดให้สิทธิ์นี้ใช้ได้ไม่เกิน 1 ปี)

      link.png   ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)

      5455565758
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup