อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ  กรณีผลิตภัณฑ์อาหารสุดท้าย (finished good) ที่มีส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้ การแสดงฉลากอาหารให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการแสดงฉลากอาหารในภาชนะบรรจุ และประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องผลิตภัณฑ์นั้นๆ โดยไม่ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 442) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้ เนื่องจากไม่ได้เป็นผลิตภัณฑ์ตามขอบเขต “ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้” ทั้งนี้ สามารถแสดงคำว่า “ไขมันโกโก้”, “เนื้อโกโก้บด”หรือ “โกโก้ข้นเหลว”, “โกโก้ผง” และ “คาเคาผง” ตามข้อเท็จจริงของส่วนประกอบที่ใช้ในผลิตภัณฑ์ได้

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้

      ตอบ  วัตถุเจือปนอาหารที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้ จะต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐาน (Specification) และข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้ตามที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหารโดยพิจารณาข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้วัตถุเจือปนอาหารภายใต้หมวดอาหาร ดังนี้

      สำหรับไขมันโกโก้ > หมวด 05.1.3 ผลิตภัณฑ์โกโก้ที่ใช้สำหรับทาหรือป้ายหรือเป็นไส้ขนมหรือเป็นวัตถุดิบ

      สำหรับเนื้อโกโก้บดหรือโกโก้ข้นเหลว โกโก้ผง และคาเคาผง > หมวด 05.1.1 โกโก้ผง โกโก้แมส หรือโกโก้เค้ก 

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้

      ตอบ  ข้อแตกต่างระหว่าง “โกโก้ผง (Cocoa powder)” และ “คาเคาผง (Cacao powder)” คือ วัตถุดิบและกระบวนการผลิต ทั้งนี้คาเคาผงจะได้จากเมล็ดโกโก้กะเทาะเปลือกที่ไม่ผ่านการคั่วแต่อาจมีการอบที่อุณหภูมิต่ำแล้วนำไปบด โดยทั่วไปอุณหภูมิที่ใช้จะไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้

      ตอบ  ผงโกโก้แบบดัชต์โพรเซส (Dutch-process Cocoa Powder) ได้จากกระบวนการผลิตที่มีการใช้สารละลายด่าง เพื่อช่วยปรับรสชาติของโกโก้ให้มีความเปรี้ยวน้อยลงและกลมกล่อมขึ้น การลดความเป็นกรดนี้จะทำให้ผงโกโก้ที่ได้มีสีที่เข้มกว่าแบบธรรมชาติ กระบวนการดังกล่าวถูกคิดค้นโดยนักเคมีชาวเนเธอร์แลนด์ หรือ ชาวดัตช์ ดังนั้นจึงเรียก    ผงโกโก้ที่ได้จากระบวนการดังกล่าวว่า “Dutch-process Cocoa Powder” เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้ค้นพบ

      cocoa-02.jpg

       

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้

      ตอบ  ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้ตามขอบข่ายของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 442) พ.ศ. 2566  ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้ ได้แก่ (1) ไขมันโกโก้ (Cocoa butter) (2) เนื้อโกโก้บด (Cocoa mass) หรือ โกโก้ข้นเหลว (Cocoa liquor), (3) โกโก้ผง (Cocoa powder) และ (4) คาเคาผง (Cacao powder) 

       

      link.png   ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้

      ตอบ  กรณีผลิตภัณฑ์อาหารสุดท้าย (finished good) ที่มีส่วนประกอบของช็อกโกแลต การแสดงฉลากอาหารให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการแสดงฉลากอาหารในภาชนะบรรจุ และประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องผลิตภัณฑ์นั้น ๆ โดยไม่ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต เนื่องจากไม่ได้เป็นผลิตภัณฑ์ตามขอบเขต “ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต” ทั้งนี้ สามารถแสดงคำว่า “ช็อกโกแลต” ตามข้อเท็จจริงของส่วนประกอบที่ใช้ในผลิตภัณฑ์ได้

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  จำเป็นจะต้องแสดงปริมาณโกโก้ทั้งหมด (Total Cocoa Solid) ตามข้อ 10(2) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566 ถึงแม้ว่าช็อกโกแลตขาว หรือ ไวท์ช็อกโกแลต (White Chocolate) จะไม่มีส่วนประกอบของเนื้อโกโก้บด (Cocoa mass) หรือ โกโก้ข้นเหลว (Cocoa liquor) หรือ โกโก้ผง (Cocoa powder) แต่มีการใช้ไขมันโกโก้ (Cocoa butter) เป็นส่วนประกอบ

      หมายเหตุ โกโก้ทั้งหมด (Total Cocoa Solids) หมายถึง ปริมาณรวมของโกโก้ปราศจากไขมัน (Fat-free Cocoa Solids) และไขมันโกโก้ (Cocoa Butter)

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานสอดคล้องกับช็อกโกแลตประเภท “ช็อกโกแลต (Chocolate)” ตามข้อ 4(1) ของ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566 สามารถใช้ชื่อ    “ดาร์คช็อกโกแลต (dark chocolate)” ได้

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ  ช็อกโกแลตคอมพาวน์ (Chocolate compound) หมายถึง ผลิตภัณฑ์เลียนแบบช็อกโกแลต ที่ไม่ได้คุณภาพหรือมาตรฐานตามที่ได้กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566

      ตัวอย่างเช่น:

      - มีส่วนประกอบของไขมันหรือน้ำมันพืชอื่นนอกจากไขมันโกโก้ มากกว่าร้อยละ 5 ของน้ำหนักผลิตภัณฑ์ หรือ

      - มีส่วนประกอบที่เป็นวัตถุดิบที่ได้จากเมล็ดโกโก้ ในปริมาณที่ไม่สอดคล้องเกณฑ์กำหนดในตารางข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานเฉพาะของช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      - มีส่วนประกอบอื่นเกินร้อยละ 40 ของน้ำหนักผลิตภัณฑ์ (ข้อ 5(4) ของประกาศกระทรวงสาธารณสุข(ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566))

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      ตอบ   1. ห้ามแสดงชื่อว่า “ช็อกโกแลต” ไว้ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของฉลาก สำหรับผลิตภัณฑ์อาหารที่ไม่ใช่หรือไม่มีส่วนประกอบของช็อกโกแลตหรือผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต ที่มีคุณภาพหรือมาตรฐานเป็นไปตามที่ได้กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 441) พ.ศ. 2566

            2. กรณีผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของผงโกโก้และน้ำตาล โดยอาจมีนมเป็นส่วนประกอบหรือไม่ก็ได้ และมีความประสงค์จะใช้คำว่า “ช็อกโกแลต” ในชื่อของผลิตภัณฑ์เพื่อสื่อถึงรสชาติ เช่น ไอศกรีมช็อกโกแลต จะสามารถแสดงคำว่า “ช็อกโกแลต” ได้ในกรณีที่องค์ประกอบเข้าข่ายตามนิยาม รวมถึงสัดส่วนและปริมาณของไขมันโกโก้ (Cocoa Butter), โกโก้ปราศจากไขมัน (Fat-free Cocoa Solids), โกโก้ทั้งหมด (Total Cocoa Solid), ไขมันนมหรือมันเนย (Milk Fat), เนื้อนม (Total Milk Solids) และไขมันทั้งหมด (Total fat) เป็นไปตามที่กำหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      สำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มที่มีส่วนประกอบของโกโก้ผงหรือคาเคาผงและน้ำตาล โดยอาจมีส่วนประกอบอื่นหรือไม่ก็ได้ หากมีความประสงค์จะใช้คำว่า “เครื่องดื่มช็อกโกแลต” จะต้องมีปริมาณของโกโก้ผงหรือคาเคาผงไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 เมื่อคำนวณในสัดส่วนของโกโก้ผงหรือคาเคาผงและน้ำตาล ทั้งนี้จะต้องระบุชนิดของโกโก้ผงหรือคาเคาผง ได้แก่ โกโก้ผง โกโก้ผงไขมันต่ำ โกโก้ผงไขมันต่ำมาก คาเคาผง คาเคาผงไขมันต่ำ คาเคาผงไขมันต่ำมาก ในสูตรส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ให้ชัดเจน (อ้างอิงตาม Standard for Cocoa Powders (Cocoas) and Dry Mixtures of Cocoa and Sugars (CODEX STAN 105-1981))

              3. กรณีผลิตภัณฑ์อาหารที่มีองค์ประกอบไม่เข้าข่ายตามนิยาม รวมถึงสัดส่วนและปริมาณของไขมันโกโก้ (Cocoa Butter), โกโก้ปราศจากไขมัน (Fat-free Cocoa Solids), โกโก้ทั้งหมด (Total Cocoa Solid), ไขมันนมหรือมันเนย (Milk Fat), เนื้อนม (Total Milk Solids) และไขมันทั้งหมด (Total fat) ไม่เป็นไปตามที่กำหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต อาจใช้คำอื่นสำหรับชื่อผลิตภัณฑ์ เพื่อไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในผลิตภัณฑ์ เช่น ไอศกรีมรสช็อกโกแลต

       

      link.png   ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต

      5556575859
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup