อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      คำตอบ เนื่องจากข้อจำกัดด้านการตรวจสอบที่ไม่สามารถดำเนินการได้ 100% ดังนั้นการวิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์สุดท้ายเพียงอย่างเดียวดังที่เคยปฏิบัติมาก่อนนั้น จึงไม่เพียงพอที่จะสร้างความมั่นใจในความปลอดภัยของอาหารได้ ดังนั้นการป้องกันปัญหาการปนเปื้อนด้วยการคัดเลือกวัตถุดิบตามหลัก GMPs ของผู้ผลิตอาหารจึงมีความสำคัญมาก 

      ทั้งนี้ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์อาหารเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย ผู้ผลิตและผู้นำเข้าอาหารควรปฏิบัติดังนี้

      • ศึกษาเรียนรู้ระบบการวิเคราะห์อันตราย (hazard analysis) ทั้งทางด้านชีวภาพ ด้านกายภาพ ด้านทางเคมี ตั้งแต่วัตถุดิบ การเตรียมและการเก็บรักษาวัตถุดิบ กรรมวิธีผลิต ตลอดจนการเก็บรักษาและการขนส่งผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ทราบชนิดของสารปนเปื้อน และแหล่งหรือขั้นตอนที่ทำให้เกิดการปนเปื้อน
      • ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร ต้องทบทวนคุณภาพมาตรฐาน (specification) ของผลิตภัณฑ์ (finished goods) หรือวัตถุดิบ (raw materials) แล้วแต่กรณี ซึ่งผลิตภัณฑ์อาหารชนิดหนึ่งอาจมีค่า ML สำหรับสารปนเปื้อนกำหนดไว้ทั้งในลักษณะผลิตภัณฑ์สุดท้ายและวัตถุดิบ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของอาหารและชนิดของสารปนเปื้อน 

               กรณีที่สารปนเปื้อนกำหนดไว้สำหรับวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอาหาร ผู้ผลิตอาหารต้องมีการตรวจสอบว่าวัตถุดิบนั้นมีปริมาณการปนเปื้อนเป็นไปตามกฏหมาย โดยอาจสุ่มเก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ หรือขอเอกสารข้อกำหนดคุณภาพ (Specification) หรือใบรับรองผลวิเคราะห์ (Certificate of Analysis) จากผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ายวัตถุดิบ (supplier)

      • ผู้นำเข้าผลิตภัณฑ์อาหาร ต้องตรวจสอบข้อมูลกับผู้ผลิตอาหารในต่างประเทศเพื่อให้มั่นใจว่าอาหารที่นำเข้ามีส่วนประกอบของวัตถุดิบที่มีสารปนเปื้อนเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย โดยอาจขอใบรับรอง (Letter of Confirmation) เกี่ยวกับสูตรส่วนประกอบ กระบวนการผลิต ข้อกำหนดคุณภาพ (Specification) หรือใบรับรองผลวิเคราะห์ (Certificate of Analysis) ทั้งผลิตภัณฑ์อาหารและวัตถุดิบที่ใช้จากผู้ผลิตต่างประเทศ เพื่อใช้เป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าอาหารนำเข้านั้น มีการควบคุมวัตถุดิบให้มีสารปนเปื้อนเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมาย

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

       

      คำตอบ ประกาศฯ กระทรวงฉบับนี้จะเริ่มบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ซึ่งผู้ประกอบการสามารถปฏิบัติตามได้ทันทีเฉพาะในกรณีที่ค่า ML ใหม่ของสารปนเปื้อนสำหรับอาหารนั้นๆ มีค่าต่ำกว่าค่า ML ที่กำหนดไว้ตามประกาศฯ เดิม และในกรณีของดีบุก สังกะสี และเหล็กนั้นยังต้องตรวจวิเคราะห์ตามข้อกำหนดเดิมไปจนถึงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2563

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      ตอบ  การแบ่งกลุ่มพืชสามารถศึกษารายละเอียดการจัดกลุ่มของพืชได้เพิ่มเติมจากเอกสารมาตรฐานสินค้าเกษตร, มกษ. 9045-2559 เรื่อง การจัดกลุ่มสินค้าเกษตร: พืช ซึ่งเข้าถึงได้ที่ https://www.acfs.go.th/standard/download/CLASSIFICATION_AGRICULTURAL_COMMODITIES-CROP.pdf

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ ผู้ผลิตสามารถพิจารณากำหนดค่าได้ตามความเหมาะสมเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับคู่ค้า โดยปริมาณที่กำหนดอาจคำนวณจากอัตราของการแปรรูป (extraction rate) และสัดส่วนของวัตถุดิบที่ใช้ ซึ่งควรพิจารณาประกอบกับผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง FGs ด้วย

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ เครื่องดื่มกระป๋องหมายรวมถึงเครื่องดื่มทุกอย่างที่บรรจุในกระป๋องโลหะ ซึ่งรวมทั้งกาแฟพร้อมบริโภคที่บรรจุในกระป๋องด้วย ดังนั้นกาแฟพร้อมบริโภคที่บรรจุในกระป๋องจึงตรวจพบดีบุกได้ไม่เกิน 150 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ ในกรณีที่ผลิตภัณฑ์มีส่วนประกอบหลายอย่างหรือมีกระบวนการผลิตที่ซับซ้อนอาจใช้วิธีการคำนวณสัดส่วนได้แต่ต้องมีการทวนสอบค่าด้วยผลการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง FGs ด้วยว่าค่าที่คำนวณนั้นสอดคล้องกับผลวิเคราะห์จริงที่ได้หรือไม่ เนื่องจากกระบวนการผลิตอาจมีผลต่อปริมาณการปนเปื้อนของสารเคมี 

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ สามารถสืบค้นข้อมูลได้จากวารสารที่น่าเชื่อถือ หรือฐานข้อมูลของหน่วยงานด้านการศึกษา เช่น ฐานข้อมูล Thai Food Composition Database 2015 สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (https://inmu2. mahidol.ac.th/thaifcd/home.php) หรือฐานข้อมูลขององค์กรระหว่างประเทศ เช่น Technical Conversion Factors For Agricultural Commodities (http://www.fao.org/economic/the-statistics-divisioness/ methodology/methodology-systems/technical-conversion-factors-for-agricultural-commodities/en/)

      ตัวอย่างการคำนวณค่า ML

      1. เมล็ดข้าวสาลี-แป้งข้าวสาลี

               ค่า ML ของตะกั่ว สำหรับเมล็ดธัญพืชซึ่งรวมถึงเมล็ดข้าวสาลี เท่ากับ 0.2 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม ทั้งนี้เมล็ดข้าวสาลีสามารถผลิตเป็นแป้งข้าวสาลีได้ ประมาณร้อยละ 70 จึงสามารถคำนวณปริมาณสูงสุดของตะกั่วในแป้งข้าวสาลีได้ดังนี้

      - เมล็ดข้าวสาลี 1000 กรัม มีตะกั่วปนเปื้อนได้ปริมาณสูงสุดไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัม

      - แป้งข้าวสาลี 70 กรัมได้มาจากเมล็ดข้าวสาลี 100 กรัม

      ดังนั้น เมล็ดข้าวสาลี 1000 กรัมจึงสามารถผลิตแป้งข้าวสาลีได้ 

      เท่ากับ (1,000 x 70)/ 100 = 700 กรัม

      - แป้งข้าวสาลี 700 กรัม ได้มาจากเมล็ดข้าวสาลี 1000 กรัม ซึ่งมีตะกั่วปนเปื้อนได้ปริมาณสูงสุดไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัม 

      ดังนั้นแป้งข้าวสาลี 1 กิโลกรัม จึงมีตะกั่วปนเปื้อนได้ในปริมาณสูงสุดไม่เกิน 

      (0.2 x 1,000)/ 700 = 0.29 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม

       

      2. สาหร่ายแห้ง-สาหร่ายสด

               ค่า ML ของแคดเมียม สำหรับสาหร่ายแห้ง เท่ากับ 2 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม  โดยสาหร่ายสดน้ำเป็นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 89 และสาหร่ายแห้งมีน้ำเป้นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 6 ดังนั้นสาหร่ายจึงมีน้ำหายไประหว่างการทำแห้งประมาณร้อยละ 83 จึงสามารถคำนวณปริมาณสูงสุดของแคดเมียมสำหรับสาหร่ายสดได้ดังนี้

       

      - สาหน่ายแห้ง 17 กรัม มาจากสาหร่ายสด 100 กรัม

      ดังนั้น สาหร่ายแห้ง 1000 กรัม จึงมาจากสาหร่ายสด 

      (1,000 x 100)/ 17 = 5882.35 กรัม

      - สาหร่ายแห้ง 1000 กรัม มีแคดเมียมปนเปื้อนได้ 2 มิลลิกรัม

      - สาหร่ายแห้ง 1000 กรัม เท่ากับสาหร่ายสดน้ำหนัก 5882.35 กรัม และมีแคดเมียมปนเปื้อนได้ไม่เกิน 2 มิลลิกรัม ดังนั้นสาหร่ายสด 1 กิโลกรัม จึงมีแคดเมียมปนเปื้อนได้ในปริมาณสูงสุดไม่เกิน

      (2 x 1,000)/ 5882.35 = 0.34 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม

       

      3.  ปลาหมึกสด – ปลาหมึกแห้ง

               ค่า ML ของแคดเมียม สำหรับปลาหมึกสด เท่ากับ 2 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม โดยปลาหมึกสดมีน้ำเป็นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 83 และปลาหมึกแห้งมีน้ำเป็นองค์ประกอบร้อยละ 24 ดังนั้นจึงมีน้ำหายไปในประมาณร้อยละ 59 โดยน้ำหนัก จึงสามารถคำนวณปริมาณสูงสุดของแคดเมียมสำหรับปลาหมึกแห้งได้ดังนี้

      - ปลาหมึกสด 1000 กรัม จะได้ปลาหมึกแห้ง 410 กรัม 

      - ปลาหมึกสด 1000 กรัม มีแคดเมียมปนเปื้อนได้ 2 มก.  

      ดังนั้นปลาหมึกแห้ง 1,000 กรัม จึงมีแคดเมียมปนเปื้อนได้ไม่เกิน 

      (2 x 1,000)/410 มก. = 4.88 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าอาหารเพื่อจำหน่ายต้องมีหลักฐานหรือเอกสารเพื่อแสดงให้เห็นว่ามีการควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practices; GMPs) เช่น 

      • เอกสารระบุ specification ของวัตถุดิบ
      • บันทึกการตรวจสอบและคัดเลือกวัตถุดิบ
      • หนังสือรับรองวัตถุดิบ (Certificate of Ingredients)
      • รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ หรือ
      • หนังสือรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ (Certificate of Analysis; COA) เป็นต้น

               ทั้งนี้ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าอาจสุ่มตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารสุดท้ายเพื่อทวนสอบระบบการคัดเลือกวัตถุดิบ หรือเพื่อนำมาพิจารณากำหนดเป็นข้อกำหนดคุณภาพและลักษณะของผลิตภัณฑ์ (product specification) ของบริษัทฯ ตนเองได้ตามความเหมาะสม

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ  รายการสารปนเปื้อนสำคัญที่ควรมีระบุไว้ใน Product Specification หรือ Certificate of Analysis ของ FGs ได้แก่

      1. เป็นรายการสารปนเปื้อนที่มีค่า ML กำหนดไว้เป็นการเฉพาะสำหรับ FGs นั้นๆ ตามกฎหมาย
      2. สารอื่นๆ เช่น สารปนเปื้อนที่กำหนดค่า ML ไว้ในวัตถุดิบ ซึ่งผู้ประกอบการอาจนำมาพิจารณาร่วมกับปัจจัยการผลิตแล้วเห็นว่าจะส่งผลต่อระดับการปนเปื้อนใน FGs เช่น ผลิตภัณฑ์ Isolated Soybean Protein (ISP) ซึ่งตามประกาศฯ ฉบับที่ 414 ไม่มีค่า ML ของตะกั่วใน ISP ไว้เป็นการเฉพาะ แต่มีกำหนดปริมาณของตะกั่วในถั่วเมล็ดแห้งซึ่งรวมทั้งถั่วเหลือง ไว้ไม่เกิน 0.2 mg/kg ของถั่วเหลืองทั้งเมล็ด ในกรณีนี้หากวิเคราะห์ความเสี่ยงแล้วเห็นว่ากระบวนการผลิตไม่สามารถลดการปนเปื้อนของตะกั่วลงได้ ประกอบกับรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ ISP ในหลายรุ่นการผลิตก็พบการปนเปื้อนของตะกั่ว ผู้ประกอบการควรกำหนดปริมาณสูงสุดของตะกั่วใน Product Specification ของ ISP นี้ โดยอาจใช้ค่าเฉลี่ยจากผลการตรวจวิเคราะห์ที่ได้ แต่ทั้งนี้ก็ต้องมีการควบคุมการปนเปื้อนในถั่วเหลืองเมล็ดแห้งที่ใช้เป็นวัตถุดิบไม่ให้มีตะกั่วปนเปื้อนเกิน 0.2 mg/kg ด้วย

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      คำตอบ วัตถุดิบที่ใช้เป็นส่วนผสมหลักหรือใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญพิจารณาได้จากปริมาณที่ใช้และคุณภาพของวัตถุดิบซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดอันตรายของผลิตภัณฑ์ ซึ่งการตัดสินใจว่าวัตถุดิบชนิดใดเป็นวัตถุดิบหลักหรือส่วนประกอบสำคัญที่ต้องควบคุมนั้น ผู้ผลิตต้องประเมินว่าวัตถุดิบที่ใช้นั้นเสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารชนิดใด ในระดับใดตามหลัการวิเคราะห์อันตรายในอาหาร

       

      link.png   มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน

      6465666768
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup