อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมซึ่งผ่านการประเมินความปลอดภัยแล้ว โดยคณะผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ของโครงการร่วม เอฟ เอ โอ/ดับบลิว เอช โอ (The Joint FAO/WHO scientific advisory bodies) หรือคณะผู้เชี่ยวชาญขององค์การอนามัยโลก (WHO Expert Advisory Panels and Committees) ต้องยื่นเอกสารหรือหลักฐานแทนรายงานผลการประเมินความปลอดภัยฯ จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) ดังนี้

      (1) เอกสารหรือหลักฐานเกี่ยวกับผลการประเมินความปลอดภัยโดยคณะผู้เชี่ยวชาญฯ
      (2) เอกสารข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานที่สอดคล้องตามผลการประเมินความปลอดภัยของคณะผู้เชี่ยวชาญฯ
       
       
      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ กรณีที่เป็นวัตถุเจือปนอาหารซึ่งมีข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานและมีข้อกำหนดเงื่อนไขการใช้แล้วตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร ให้ส่งข้อมูลเกี่ยวกับจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรมที่ใช้ในระหว่างกระบวนการผลิตต่อ BIOTEC เพื่อประเมินความปลอดภัยฯ และติดต่อกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อส่งข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดวิธีการตรวจวิเคราะห์ แล้วจึงนำรายงานฯ พร้อมหลักฐานจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ยืนยันว่าสามารถตรวจวิเคราะห์ได้ ติดต่อกลุ่มกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาดเพื่อขอแก้ไขทะเบียนตำรับอาหาร ทั้งนี้ เอกสารหรือหลักฐานที่ต้องแนบเพิ่มเติมเพื่อขอขึ้นทะเบียนตำรับ (อ.17) หรือขอแก้ไขทะเบียนตำรับ (อ.19) ได้แก่

      (1) บทสรุปผู้บริหารภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตามรายงานการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารจากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
      (2) เอกสารเกี่ยวกับการส่งข้อมูลเพื่อการตรวจวิเคราะห์อาหารจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น หนังสือ หรือประกาศกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
       
       
      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ จุลินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการพัฒนาแบบ Self-cloning คือจุลินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการนำชิ้นดีเอ็นเอหรือยีน (nucleic acid sequences) ออกจากเซลล์ โดยจะมีการนำกลับเข้าไปทั้งชิ้นหรือบางส่วน (รวมทั้งที่สังเคราะห์ขึ้นแต่มีลำดับเบสเหมือนเดิม) ก็ได้ โดยก่อนที่จะใส่กลับเข้าไปนั้น อาจผ่านกระบวนการที่ใช้เอนไซม์หรือวิธีการทางกล (mechanical steps) หรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้รวมทั้งการนำเข้าไปในจุลินทรีย์ชนิดพันธุ์ (species) เดียวกัน หรือชนิดพันธุ์ที่ใกล้เคียงกันที่สามารถแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมกันได้ตามธรรมชาติ ซึ่งกระบวนการเหล่านี้ไม่ข้ามขอบเขตของการผสมพันธุ์กันตามธรรมชาติ ดังนั้นจุลินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการพัฒนาแบบ Self-cloning จึงไม่จัดเป็นจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม ซึ่งไม่จำเป็นต้องผ่านการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านอาหารเต็มรูปแบบ แต่อาจจัดเป็นอาหารใหม่ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาหารใหม่ ดังนั้นจึงต้องประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพด้านชีววิทยาระดับโมเลกุลของจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรมและประเมินความปลอดภัยของอาหารใหม่ เพื่อกำหนดอัตราส่วนการใช้เป็นส่วนผสมในอาหารต่อไป

       

      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ เมล็ดถั่วเหลืองดัดแปรพันธุกรรม หรือเมล็ดข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรมเป็นอาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต    ดัดแปรพันธุกรรมซึ่งเป็นอาหารที่ต้องมีฉลาก ดังนั้นผู้ผลิตอาหาร ผู้นำเข้าเพื่อจำหน่ายต้องขอรับเลขสารบบอาหาร และต้องแสดงข้อความว่า “ดัดแปรพันธุกรรม” ประกอบชื่ออาหาร เช่น “ถั่วเหลืองดัดแปรพันธุกรรม” หรือ “ข้าวโพดดัดแปรพันธุกรรม” แล้วแต่กรณี

       

      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ กรณีที่แป้งข้าวโพดนั้นมีสารพันธุกรรมหรือโปรตีนซึ่งเป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมหลงเหลืออยู่ โดยผู้ผลิตทราบที่มาและข้อมูลคุณลักษณะของแป้งข้าวโพดนี้อยู่แล้ว ก็ต้องแสดงฉลากตามข้อกำหนด

       

      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ ประเทศไทยยังคงห้ามการกล่าวอ้างข้อความ “ปลอดจากอาหารดัดแปรพันธุกรรม” หรือ “ไม่ใช่อาหารดัดแปรพันธุกรรม” หรือ “ไม่มีส่วนประกอบของอาหารดัดแปรพันธุกรรม” หรือ “มีการคัดหรือแยกส่วนประกอบที่มีการดัดแปรพันธุกรรมออก” หรือข้อความหรือสัญลักษณ์อื่นที่มีความหมายในทำนองเดียวกัน เนื่องจาก

      (1) ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่รับรองระบบการคัดแยกสินค้า (Identity Preservation Handling, IP Handling) ตั้งแต่แหล่งเพาะปลูก/แหล่งผลิต การเก็บเกี่ยวการขนส่ง กระบวนการผลิตอาหาร จนถึงผลิตภัณฑ์สุดท้าย และ
      (2) เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดของผู้บริโภคและเป็นการชวนเชื่อโดยไม่สมควร ในกรณีที่สิ่งมีชีวิตบางชนิดยังไม่มีการใช้เทคนิคการดัดแปรพันธุกรรม
       
       
      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ โดยส่วนใหญ่วัตถุเจือปนอาหารเป็นสารประกอบบริสุทธิ์ซึ่งไม่หลงเหลือสารพันธุกรรมที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมและไม่หลงเหลือโปรตีนที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมในผลิตภัณฑ์สุดท้าย จึงได้รับการยกเว้นการแสดงฉลากอาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมตาม (4) ของข้อ 8 อยู่แล้ว ยกเว้นในกรณีที่วัตถุเจือปนอาหารนั้น มีสารพันธุกรรมหรือโปรตีนที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมหลงเหลืออยู่ในผลิตภัณฑ์สุดท้ายก็ต้องแสดงฉลากอาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมตามข้อกำหนด เนื่องจากเป็นการตั้งใจใช้ ต่างจากโปรตีนซึ่งเป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมที่ใช้เป็นสารช่วยในกระบวนการผลิต เช่น เอนไซม์ ซึ่งได้รับการยกเว้นเนื่องจากจะถูกใช้ในกระบวนการเตรียมวัตถุดิบหรือส่วนประกอบของอาหาร ซึ่งอาจมีชิ้นส่วนของเอนไซม์เหลือตกค้างในผลิตภัณฑ์บ้างแต่ปริมาณน้อยมากโดยไม่ตั้งใจแต่หลีกเลี่ยงไม่ได้

       

      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ การแสดงสัญลักษณ์เป็นรูปสามเหลี่ยม พื้นสีเหลืองตัวอักษร สีดำ โดยมีข้อความว่า “GMO” หรือข้อความเพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้บริโภคเพิ่มเติมผ่านโปรแกรมแอปพลิเคชั่น หรือเว็บไซต์เป็นมาตรการสมัครใจที่ผู้ประกอบการสามารถเลือกปฏิบัติได้

      gmo-label-17.png

       

      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ หลักฐานตามระบบตรวจสอบย้อนกลับหรือระบบตามสอบย้อนกลับสินค้า (Traceability system) ที่สามารถใช้ประกอบว่าไม่มีการใช้วัตถุดิบที่เป็นอาหารดัดแปรพันธุกรรมในกระบวนการผลิต เช่น

      • หนังสือรับรอง IP (Identify Preservation) หรือหนังสือรับรองในทำนองเดียวกัน กรณีที่เป็น Non GMO ที่ออกโดยหน่วยงานรัฐหรือหน่วยงานอื่นที่ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบ
      • หลักฐานหรือหนังสือรับรองเกษตรอินทรีย์ ที่ออกโดยหน่วยงานรัฐ หรือหน่วยงานอื่นที่ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบ หรือหน่วยตรวจสอบรับรองที่ได้รับการรับรองระบบงานตามเกณฑ์ของ IFOAM (The International Federation of Organic Agriculture Movements)
      • ทั้งนี้ในกรณีที่เป็นส่วนของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมหรือผลิตภัณฑ์อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่ไม่มีการกำจัดโปรตีนหรือสารพันธุกรรมในกระบวนการผลิตนั้น สามารถใช้เอกสารดังต่อไปนี้แทนก็ได้
      • รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ (Analytical Report) จากห้องปฏิบัติการที่ได้รับการยอมรับ หรือห้องปฏิบัติการของหน่วยงานภาครัฐ ที่ระบุว่าตรวจไม่พบสารพันธุกรรมที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมและไม่หลงเหลือโปรตีนที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรม
      • หนังสือรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ (COA for a specific Silo/batch) ที่ออกโดยหน่วยงานภาครัฐ ที่ระบุว่าตรวจไม่พบสารพันธุกรรมที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมและไม่หลงเหลือโปรตีนที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรม

       

      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 432 กำหนดว่ากรณีที่ตั้งใจใช้พืชหรือสัตว์ดัดแปรพันธุกรรมแม้ว่าจะมีสัดส่วนของส่วนประกอบน้อยกว่าร้อยละ 5 จะต้องแสดงฉลากอาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมตามประกาศฉบับนี้ เนื่องจากผู้ผลิตทราบข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุดิบที่ใช้อยู่แล้วจาก เอกสารข้อกำหนดคุณภาพมาตรฐาน (specification) ของวัตถุดิบที่ใช้อยู่แล้วว่าเป็นส่วนของ/ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการตัดสินใจของผู้บริโภค

             ทั้งนี้ในกรณีที่ไม่มีเอกสารข้อกำหนดคุณภาพมาตรฐาน (specification) ของวัตถุดิบที่ใช้ ในกรณีที่ผลตรวจวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Limit of detection, LOD = 0.1%) พบสารพันธุกรรมหรือโปรตีนที่เป็นผลมาจากการดัดแปรพันธุกรรม โดยในผลิตภัณฑ์สุดท้าย (Finished Good) มีวัตถุดิบนั้นเป็นส่วนประกอบมากกว่าร้อย 5 จะต้องแสดงข้อมูลของส่วนประกอบจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมแม้ว่าไม่ได้ตั้งใจจะใช้วัตถุดิบนั้น
       
       
      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      6768697071
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup