อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ ​เลซิตินจัดเป็นวัตถุเจือปนอาหารซึ่งผ่านการประเมินความปลอดภัยแล้วโดย Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives (JECFA) และมีข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานตาม the FAO JECFA database for the specifications of additive(s) ดังนั้นจึงไม่ต้องยื่นรายงานผลการประเมินความปลอดภัยฯ ตามข้อยกเว้นซึ่งกำหนดไว้ในวรรค 2 ของข้อ 5 แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 431 อีก แต่ต้องส่งมอบวัสดุอ้างอิง หรือรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจวิเคราะห์แก่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และแจ้งต่อสำหนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงบัญชีหมายเลข 1 ต่อไป ทั้งนี้หากตรวจพบสารพันธุกรรมหรือโปรตีนที่เป็นผลมาจากการดัดแปรพันธุกรรมในผลิตภัณฑ์ต้องแสดงฉลากอาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 432 ด้วย

       

      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก

      ตอบ กรณีผลิตภัณฑ์อาหารใช้วัตถุดิบเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ไม่จำเป็นต้องตรวจวิเคราะห์สารพันธุกรรมในผลิตภัณฑ์สุดท้าย แต่ต้องมีข้อมูลสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่ใช้เป็นวัตถุดิบตามระบบตามสอบย้อนกลับเพื่อเป็นข้อมูลแก่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้เกี่ยวข้อง

             ทั้งนี้กรณีที่ผู้ประกอบการได้รับการยกเว้นการแสดงฉลาก ตามข้อ 8 (4) “อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่ไม่หลงเหลือสารพันธุกรรมที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมและไม่หลงเหลือโปรตีนที่เป็นผลจากการดัดแปรพันธุกรรมในผลิตภัณฑ์สุดท้าย” ผู้ประกอบการอาจมีผลการตรวจวิเคราะห์ไว้เพื่อยืนยันด้วยก็ได้
       
       
      link.png   อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
       

      ตอบ Infective dose คือ ปริมาณหรือจำนวนของจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคที่ผู้บริโภคได้รับใน 1 ครั้ง แล้วทำให้เกิดการเจ็บป่วย เช่น Infective dose เท่ากับ 106 หมายถึงหากได้รับเชื้อดังกล่าว จำนวน 106  หรือ หนึ่งล้านเซลล์จึงจะทำให้ผู้บริโภคเกิดการเจ็บป่วย แต่ถ้าได้รับเชื้อไม่ถึงปริมาณที่กำหนด ก็จะไม่เกิดการเจ็บป่วยซึ่งปริมาณที่กำหนดดังกล่าวได้มาจากข้อมูลทางวิชาการ

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ รูปแบบการประเมินความเสี่ยงทางด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคในเบื้องต้น ที่ใช้วิธีการคำนวณโดยการดัดแปลงสมการการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ดังนี้

      001.jpg

               Y   =   X × 2 n

      โดย   Y   =   ค่า Infective dose

               X   =   ปริมาณจุลินทรีย์ที่น่าจะยอมให้มีได้ในผลิตภัณฑ์อาหาร       

                          ปริมาณหนึ่งหน่วย บริโภคโดยไม่เกิดอันตรายกับผู้บริโภค

               n   =   จำนวนรอบของ Generation time

       
         สมการดังกล่าวจะได้ค่าที่มีความปลอดภัยสูง เนื่องจากเป็นการใช้ตัวเลขซึ่งมาจากสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด และมีการคำนวณโดยคำนึงถึงเฉพาะ log phase ของจุลินทรีย์เท่านั้น    
         ทั้งนี้ค่า Infective dose ได้มาจากฐานข้อมูลของต่างประเทศโดยเลือกใช้ค่าที่ต่ำสุด ค่าจำนวนรอบของ Generation time นั้นได้จากปัจจัยต่าง ๆ ประกอบกัน ได้แก่ค่า
      • Generation time ระยะเวลาในการที่เชื้อจะเพิ่มจำนวนเป็น 2 เท่า จะเลือกค่าที่ต่ำที่สุดที่มีการสำรวจของโครงการศึกษาวิจัยฯ มาใช้ เพื่อให้ค่าที่คำนวณได้มีความปลอดภัยยิ่งขึ้น
      • คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์อาหาร
      • การเก็บรักษา
      • สภาวะการบริโภค  และบางกรณีจะอ้างอิงพฤติกรรมการบริโภคของคนไทยด้วย เช่น กรณี E. sakazakii ในนมผงสำหรับเด็กทารก ตามฉลากให้รับประทานทันทีภายหลังจากชงแล้ว แต่คำนวณตามพฤติกรรมของคนไทยที่ชงนมแล้วเก็บไว้ ไม่ได้รับประทานทันที
      • คุณสมบัติของเชื้อจุลินทรีย์ด้านต่างๆ ได้แก่ ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH), วอเตอร์แอคติวิตี้, ช่วงอุณหภูมิ ในการเจริญเติบโต, ค่า infective dose และ generation time
      • ปริมาณต่อหน่วยการบริโภค เป็นค่าที่กำหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182) พ.ศ. 2541 เรื่องฉลากโภชนาการ และข้อมูลการบริโภคอาหารของประเทศไทย (2549)

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ มาจากข้อมูลทางวิชาการและพิจารณาเลือกใช้ค่าต่ำสุดที่ก่อให้เกิดโรค ดังนี้ 

      ชนิดจุลินทรีย์ Infective dose อ้างอิง
      Baciillus cereus   105 European Food Safety Authority. (2005). Opinon of the scientific  Panel on Bilogical hazard on Bacilus cereus and Other Bacillus spp. in Foodsttufs. The EFSA Journal. 175:1-48. (EFSA, 2005)
      Clotridium perfringens   106 Gibbs,P. (2002). Characteristics Of spore-forming bacteria. In C. D. W. Blackburn and P.J. McClure, eds Foodborne pathogens. Hazards risk analysis and control. Woodhead publishing, Cambride. P417-435 (Gibbs P, 2002)
      Staphylococcus aureus 105 U. S. Food and Drug Administration (2012)"Foodborne Pathogenic Microorganisms and Natural Toxins Handbook"
      Vibrio parahaemolyticus 106 Centre for Health Protection. (2010) .Scientific Committee on Enteric Infections and Foodborne Diseases Food Poisoning Associated with Vibrio parahaemolyticus in Hong Kong –Current Situation and Recommendations.

      ตอบ ที่ต้องกำหนดประเภทหรือชนิดอาหารที่ประกาศฯนี้ไม่ใช้บังคับ  เนื่องจากอาหารบางประเภท หรือบางชนิดนั้น มีข้อกำหนดด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคไว้แล้วโดยเฉพาะ เช่น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และ โดยเฉพาะวัตถุเจือปนอาหารแต่ละชนิดมีข้อกำหนดแตกต่างกัน ตาม Specification ของ Codex ดังนั้นจึงจำเป็นต้องกำหนดข้อยกเว้นไว้ในข้อ 4  ของประกาศฯ

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจาก ข้อมูลทางระบาดวิทยา Cronobacter spp มีปัญหาในกลุ่มเด็กทารก  เฉพาะเด็กคลอดก่อนกำหนด ประกอบกับแนวทางของ Codex กำหนดเฉพาะในนมดัดแปลงสำหรับทารกและอาหารทารกเท่านั้น  ยังไม่มีข้อยุติสำหรับการกำหนดเพิ่มเติมในอาหารกลุ่มอื่น ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่ Codex กำหนดไว้จึงไม่ได้กำหนดในนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่องสำหรับทารก

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากข้อ 4 ของประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการตรวจวิเคราะห์ ของอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค กำหนดว่าประกาศดังกล่าวไม่ใช้บังคับกับอาหารอื่นซึ่งได้มีประกาศกระทรวงสาธารณสุขกำหนดชนิดและปริมาณ จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคไว้แล้วโดยเฉพาะ ซึ่งผลิตภัณฑ์กลุ่ม Modified Starch จัดเป็นวัตถุเจือปนอาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 281) พ.ศ. 2547 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร ที่มีข้อกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานไว้แล้วเป็นการเฉพาะ  ดังนั้นมาตรฐานด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคของผลิตภัณฑ์กลุ่ม Modified Starch  จึงต้องเป็นไปตามที่กำหนดในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 281) พ.ศ. 2547 เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ นมดัดแปลงสำหรับทารกและเด็กเล็กชนิดเหลวที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อโดยวิธี UHT และ sterilize จะมีข้อกำหนดอยู่ในบัญชีหมายเลข 2 ลำดับที่ 1 (1.5) ให้ตรวจเฉพาะ Salmonella spp. และ Staphylococcus aureus

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากการศึกษาของโครงการฯ วิจัยพบว่าคุณลักษณะของอาหารที่มีค่า pH = 3.6 - 4.2 จะไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของเชื้อดังกล่าว ดังนั้นนมเปรี้ยวที่มีค่า pH 3.6 - 4.2 จึงมีข้อกำหนดแตกต่างกับผลิตภัณฑ์นมชนิดเหลว

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      6869707172
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup