อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
      • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ เนื่องจาก water activity (aw) มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ เมื่อ aw สูงเชื้อจุลินทรีย์ก็สามารถเจริญเติบโตได้มากขึ้น ดังนั้นผลิตภัณฑ์ที่มี aw สูงจึงต้องเข้มงวดกว่าโดยกำหนดปริมาณที่ยอมให้พบได้น้อยกว่าผลิตภัณฑ์ที่มีค่า aw ต่ำกว่า

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากเนยแข็ง เป็นอาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานไม่ต้องยื่นผลวิเคราะห์เพื่อขอรับเลขสารบบอาหาร แต่ผู้ประกอบการจะต้องมีการตรวจวัดค่า aw  ของเนยแข็งเพื่อจะได้ทราบว่าผลิตภัณฑ์ต้องใช้เกณฑ์ใดในการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ดังนั้นการตรวจเนยแข็งก็ต้องตรวจสอบค่า aw ก่อนทุกครั้ง

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากไอศกรีมหวานเย็นส่วนใหญ่ไม่มีนมเป็นส่วนประกอบ หรือมีส่วนประกอบของนมเป็นส่วนประกอบน้อยมาก ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากสูตรส่วนประกอบส่วนใหญ่แล้ว ไอศกรีมหวานเย็น กำหนดรายการที่ตรวจวิเคราะห์ในบัญชีหมายเลข 2 ลำดับที่ 8 (8.3)  กำหนดให้ตรวจวิเคราะห์ 2 รายการ คือ Salmonella  spp. ไม่พบใน 25 กรัม  (g) และ Staphylococcus aureus  ไม่เกิน 100 ใน 1 กรัม (CFU/g) สำหรับจุลินทรีย์อื่นหากตรวจเฝ้าระวังเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กำหนด ต้องไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตามข้อ 2 ของประกาศฯ ที่กำหนดว่า “ข้อ 2 อาหารตามบัญชีหมายเลข 1 ท้ายประกาศนี้ที่ผลิตเพื่อจำหน่าย นำเข้าเพื่อจำหน่าย หรือที่จำหน่าย ต้องไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค เว้นแต่จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคตามชนิดและปริมาณที่ระบุไว้ในบัญชีหมายเลข 2 ท้ายประกาศนี้”

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากกรรมวิธีการฆ่าเชื้อมีผลต่อการอยู่รอดของเชื้อ ตามข้อมูลวิชาการได้แยกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม Pasteurize และ กลุ่ม UHT/sterilize  ซึ่งกรรมวิธีการฆ่าเชื้อด้วยวิธี UHT และ sterilize  จะสามารถทำลายเชื้อได้ทั้งหมด จึงกำหนดบัญชีหมายเลข 2 ลำดับที่ 8 (8.3) ตรวจเฉพาะ Salmonella  spp. และ Staphylococcus aureus  ส่วนกรรมวิธีการ Pasteurize จะมีเชื้อจุลินทรีย์ทรีย์หลงเหลือบางส่วนจึงต้องกำหนดมาตรฐานที่แตกต่างกัน โดยให้ตรวจ Salmonella  spp., Staphylococcus aureus, Bacillus cereus และ Listeria monocytogenes  ซึ่งมีข้อกำหนดอยู่ในบัญชีหมายเลข 2 ลำดับที่ 8(8.2)

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ ธัญพืช  ไม่รวมโกโก้ อ้างอิงพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน “ธัญพืช หมายถึง พืชข้าวกล้า; พืชล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Gramineae เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ให้เมล็ดเป็นอาหารหลัก และการจัดกลุ่มสินค้าเกษตร: พืช มาตรฐานเลขที่ มกษ. 9045 ในกลุ่มเมล็ดธัญพืช ตัวอย่างเช่น  ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ลูกเดือย เป็นต้น ส่วน โกโก้ (cocoa) คือเมล็ดของต้นโกโก้”

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เครื่องดื่มชนิดผงไม่ได้กำหนด pH ไว้ กรณีเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดแห้ง ต้องตรวจวิเคราะห์ตามข้อกำหนดในลำดับที่ 9 (9.2)  ในบัญชีหมายเลข 2 ของประกาศฯ สำหรับชา กาแฟ น้ำนมถั่วเหลืองชนิดผง ต้องตรวจวิเคราะห์ตามข้อกำหนดในลำดับที่ 9 (9.3)  ในบัญชีหมายเลข 2 ของประกาศฯ​

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ อาหารกึ่งสำเร็จรูปตามประกาศฯ ฉบับนี้ หมายถึงอาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 210)  พ.ศ.2543  เรื่อง อาหารกึ่งสำเร็จรูป ซึ่งยังไม่กำหนดให้รวมถึง สปาเก็ตตี้กึ่งสำเร็จรูป ขนมจีนกึ่งสำเร็จรูป  ดังนั้นอาหารดังกล่าวจึงยังไม่เข้าข่ายอาหารกึ่งสำเร็จรูปตามประกาศ จึงไม่มีข้อกำหนด มาตรฐานจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค​

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 78 (พ.ศ.2527) เรื่อง น้ำแข็ง นอกจากควบคุมคุณภาพน้ำแข็งบริโภคแล้ว รวมถึงน้ำแข็งประมง หรือน้ำแข็งที่ใช้ดองปลา ซึ่งถือว่าเป็นน้ำแข็งที่สัมผัสกับอาหารด้วย ดังนั้นน้ำแข็งดองปลา ต้องมีคุณภาพตามประกาศ ฉบับที่ 78 (พ.ศ.2527) เรื่อง น้ำแข็งต้องมีการตรวจสอบจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคตามประกาศฯ (ฉบับที่ 419) พ.ศ. 2563 ด้วย

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากกระบวนการผลิต UHT / sterile สามารถทำลายเชื้อทั้งหมด จึงไม่ควรพบเชื้อดังกล่าวปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์  ดังนั้นจึงไม่ได้กำหนดเกณฑ์ไว้ หากมีการตรวจเฝ้าระวังแล้วพบว่าผลิตภัณฑ์มีการปนเปื้อนเชื้อจะพิจารณาดำเนินการดังนี้

      1. พบน้อยกว่า infective dose  จัดเป็นอาหารผิดมาตรฐาน หรือ
      2. พบเท่ากับหรือมากกว่า infective dose จัดเป็นอาหารผิดมาตรฐาน และอาหารไม่บริสุทธิ์

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ในลำดับที่ 17 ซึ่งกำหนดให้ตรวจ Salmonella spp. Staphylococcus aureus และ Clostridium botulinum แต่เนื่องจากกรรมวิธีการ Canning จะทำลายเชื้อ Clostridium botulinum ได้หมด ประกอบกับตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท มีข้อกำหนดให้อาหารตามข้อ 3 (1) ค่า pH ตั้งแต่ 4.6 ลงมา ต้องตรวจสอบเชื้อกลุ่มอื่น ได้แก่ ยีสต์และเชื้อรา โคลิฟอร์ม จุลินทรีย์ที่เจริญเติบโตได้ที่อุณหภูมิ 30 oC หรือ 55 o C หรืออาหารตามข้อ 3 (1) ค่า pH มากกว่า 4.6 ต้องตรวจจุลินทรีย์ที่เจริญเติบโตในระหว่างการเก็บที่อุณหภูมิปกตินอกเหนือจากจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคด้วย  ดังนั้นอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ตามข้อ 3(1) สามารถใช้ผลการตรวจ sterilize test  แทนการตรวจวิเคราะห์ Salmonella spp. และ Staphylococcus aureus ตามแนวทางสากลได้ โดย

                 1) สำหรับอาหาร 3(1)  เป็นกรด ให้ตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่เติบโตที่อุณหภูมิ 30 oC และ 55 oC หากตรวจพบเชื้อที่อุณหภูมิดังกล่าวข้างต้น ให้ตรวจ Salmonella spp. และ Staphylococcus aureus เพิ่ม 

                 2) สำหรับอาหาร 3(1) เป็นกรดต่ำ ให้ตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่เติบโตที่อุณหภูมิ 35oC และ 55oC  รวมทั้งตรวจวิเคราะห์ Clostridium botulinum ด้วย

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      6970717273
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup