อย
กองอาหาร

FOOD DIVISION
  • เว็บลิงก์
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • กฏหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
      • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
      • กฎกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
      • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
      • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหาร
    • วัตถุเจือปนอาหาร
    • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
    • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
    • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
    • ภาชนะบรรจุ
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
    • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
    • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
    • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
    • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
  • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
    • คู่มือสำหรับประชาชน
    • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
    • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
    • ระบบ e-Submission
    • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
    • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
    • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
    • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
    • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
    • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
  • บริการข้อมูล
    • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
    • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
    • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
    • คำถามที่พบบ่อย
    • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
  • ประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
    • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
    • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
    • การอบรม / สัมมนา
    • รับสมัครงาน
    • ปฏิทินกิจกรรม
  • เกี่ยวกับกองอาหาร
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • สำหรับเจ้าหน้าที่
      • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
      • ระบบ e-saraban
      • จองห้องประชุม
    • หน้าแรก
    • กฏหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
        • กฎกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
        • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
        • คำสั่งคณะกรรมการอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร
      • การแสดงฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ
      • มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
      • ภาชนะบรรจุ
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • มาตรฐานอาหารที่มีสารพิษ-ยาสัตว์ตกค้าง
      • อาหารจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
      • GMP (มาตรฐานระบบการผลิตอาหาร)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
    • บริการข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
      • คู่มือสำหรับประชาชน
      • การยื่นขออนุญาตด้านอาหาร
      • หลักเกณฑ์ / ข้อกำหนด
      • ระบบ e-Submission
      • ระบบเลขเสมือน (FM,FG)
      • ระบบให้คำปรึกษาออนไลน์ (e-consult)
      • โปรแกรมสำหรับผู้ประกอบการ
      • หน่วยตรวจหรือหน่วยรับรองสถานที่ผลิตอาหาร
      • หน่วยตรวจวิเคราะห์อาหาร/ ภาชนะบรรจุอาหาร
      • หน่วยฝึกอบรมที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
      • ข้อมูลการขออนุญาตผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ให้ได้มาตรฐาน อย. และส่งออก
    • บริการข้อมูล
      • ตรวจสอบการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผิดกฎหมาย และถูกถอนเลขสารบบ
      • ประกาศผลการตรวจพิสูจน์อาหาร
      • คู่มือ/สื่อเผยแพร่
      • คำถามที่พบบ่อย
      • ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญฯ ที่ขึ้นบัญชีกับ อย.
    • ประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารประชาสัมพันธ์
      • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
      • ข่าวสารด้านความปลอดภัยอาหาร
      • การอบรม / สัมมนา
      • รับสมัครงาน
      • ปฏิทินกิจกรรม
    • เกี่ยวกับกองอาหาร
      • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
      • โครงสร้างหน่วยงาน
      • สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม
      • เว็บลิงก์
      • ติดต่อเรา
      • ร้องเรียน
      • คำถามที่พบบ่อย
      ภาษา
      EN
      image assembly
      การเข้าถึง
      close assembly
      • ขนาดตัวอักษร
        • ก
        • ก
        • ก
      • การเว้นระยะห่าง
        • icon space 1
        • icon space 2
        • icon space 3
      • ความตัดกันของสี
        • icon color 1สีปกติ
        • icon color 2ขาวดำ
        • icon color 3ดำ-เหลือง
      banner

      FAQs

      • หน้าแรก
      • คำถามที่พบบ่อย

      คำถามที่พบบ่อย


      คำถามที่พบบ่อย
      • การขออนุญาตด้านอาหาร
      • ระบบ e-submission
        • ระบบ e-Submission อาหาร (สำหรับผู้ประกอบการ)
      • การจัดประเภทอาหาร
      • กระบวนการผลิตอาหาร
        • หน่วยตรวจสอบและหน่วยรับรองสถานประกอบการอาหาร
        • การบังคับใช้ GMP กฎหมาย
        • GMP 420 สำหรับผู้ผลิตรายย่อยไม่ยากอย่างที่คิด
        • ผู้ควบคุมการผลิตน้ำฯ
      • ผลิตภัณฑ์อาหาร
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของกัญชา/กัญชง
          • สถานที่ผลิตอาหาร
          • ผลิตภัณฑ์อาหาร
          • โฆษณา
          • ฉบับประชาชน
        • ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของพืชกระท่อม
        • เกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน
        • ช็อกโกแลตและผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต
        • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเมล็ดโกโก้
        • แยม เยลลี่ และ มาร์มาเลด
      • วัตถุเจือปนอาหาร
      • สารปนเปื้อน
        • มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
      • จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค
        • การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)
      • อาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย
        • ไขมันทรานส์ ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 388)
      • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
        • อาหารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและการแสดงฉลาก
      • การแสดงฉลาก
        • การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
        • การแสดงฉลาก GDA
        • ฉลากโภชนาการ
        • ทำฉลากอาหารอย่างไรไม่ให้ถูกดำเนินคดี
      • การโฆษณาอาหาร
        • โฆษณาอาหาร แต่ไม่อยากถูกจับ ทำอย่างไร
      • การยื่นประเมินความปลอดภัย
        • การยื่นประเมินความปลอดภัยอาหาร

      ตอบ เนื่องจากการศึกษาของโครงการฯ วิจัยพบว่าคุณลักษณะของอาหารที่มีค่า pH = 3.6 - 4.2 จะไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของเชื้อดังกล่าว ดังนั้นนมเปรี้ยวที่มีค่า pH 3.6 - 4.2 จึงมีข้อกำหนดแตกต่างกับผลิตภัณฑ์นมชนิดเหลว

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจาก water activity (aw) มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ เมื่อ aw สูงเชื้อจุลินทรีย์ก็สามารถเจริญเติบโตได้มากขึ้น ดังนั้นผลิตภัณฑ์ที่มี aw สูงจึงต้องเข้มงวดกว่าโดยกำหนดปริมาณที่ยอมให้พบได้น้อยกว่าผลิตภัณฑ์ที่มีค่า aw ต่ำกว่า

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากเนยแข็ง เป็นอาหารกำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานไม่ต้องยื่นผลวิเคราะห์เพื่อขอรับเลขสารบบอาหาร แต่ผู้ประกอบการจะต้องมีการตรวจวัดค่า aw  ของเนยแข็งเพื่อจะได้ทราบว่าผลิตภัณฑ์ต้องใช้เกณฑ์ใดในการตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ดังนั้นการตรวจเนยแข็งก็ต้องตรวจสอบค่า aw ก่อนทุกครั้ง

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากไอศกรีมหวานเย็นส่วนใหญ่ไม่มีนมเป็นส่วนประกอบ หรือมีส่วนประกอบของนมเป็นส่วนประกอบน้อยมาก ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากสูตรส่วนประกอบส่วนใหญ่แล้ว ไอศกรีมหวานเย็น กำหนดรายการที่ตรวจวิเคราะห์ในบัญชีหมายเลข 2 ลำดับที่ 8 (8.3)  กำหนดให้ตรวจวิเคราะห์ 2 รายการ คือ Salmonella  spp. ไม่พบใน 25 กรัม  (g) และ Staphylococcus aureus  ไม่เกิน 100 ใน 1 กรัม (CFU/g) สำหรับจุลินทรีย์อื่นหากตรวจเฝ้าระวังเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กำหนด ต้องไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตามข้อ 2 ของประกาศฯ ที่กำหนดว่า “ข้อ 2 อาหารตามบัญชีหมายเลข 1 ท้ายประกาศนี้ที่ผลิตเพื่อจำหน่าย นำเข้าเพื่อจำหน่าย หรือที่จำหน่าย ต้องไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค เว้นแต่จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคตามชนิดและปริมาณที่ระบุไว้ในบัญชีหมายเลข 2 ท้ายประกาศนี้”

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากกรรมวิธีการฆ่าเชื้อมีผลต่อการอยู่รอดของเชื้อ ตามข้อมูลวิชาการได้แยกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม Pasteurize และ กลุ่ม UHT/sterilize  ซึ่งกรรมวิธีการฆ่าเชื้อด้วยวิธี UHT และ sterilize  จะสามารถทำลายเชื้อได้ทั้งหมด จึงกำหนดบัญชีหมายเลข 2 ลำดับที่ 8 (8.3) ตรวจเฉพาะ Salmonella  spp. และ Staphylococcus aureus  ส่วนกรรมวิธีการ Pasteurize จะมีเชื้อจุลินทรีย์ทรีย์หลงเหลือบางส่วนจึงต้องกำหนดมาตรฐานที่แตกต่างกัน โดยให้ตรวจ Salmonella  spp., Staphylococcus aureus, Bacillus cereus และ Listeria monocytogenes  ซึ่งมีข้อกำหนดอยู่ในบัญชีหมายเลข 2 ลำดับที่ 8(8.2)

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ ธัญพืช  ไม่รวมโกโก้ อ้างอิงพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน “ธัญพืช หมายถึง พืชข้าวกล้า; พืชล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Gramineae เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ให้เมล็ดเป็นอาหารหลัก และการจัดกลุ่มสินค้าเกษตร: พืช มาตรฐานเลขที่ มกษ. 9045 ในกลุ่มเมล็ดธัญพืช ตัวอย่างเช่น  ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ลูกเดือย เป็นต้น ส่วน โกโก้ (cocoa) คือเมล็ดของต้นโกโก้”

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เครื่องดื่มชนิดผงไม่ได้กำหนด pH ไว้ กรณีเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทชนิดแห้ง ต้องตรวจวิเคราะห์ตามข้อกำหนดในลำดับที่ 9 (9.2)  ในบัญชีหมายเลข 2 ของประกาศฯ สำหรับชา กาแฟ น้ำนมถั่วเหลืองชนิดผง ต้องตรวจวิเคราะห์ตามข้อกำหนดในลำดับที่ 9 (9.3)  ในบัญชีหมายเลข 2 ของประกาศฯ​

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ อาหารกึ่งสำเร็จรูปตามประกาศฯ ฉบับนี้ หมายถึงอาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 210)  พ.ศ.2543  เรื่อง อาหารกึ่งสำเร็จรูป ซึ่งยังไม่กำหนดให้รวมถึง สปาเก็ตตี้กึ่งสำเร็จรูป ขนมจีนกึ่งสำเร็จรูป  ดังนั้นอาหารดังกล่าวจึงยังไม่เข้าข่ายอาหารกึ่งสำเร็จรูปตามประกาศ จึงไม่มีข้อกำหนด มาตรฐานจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค​

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 78 (พ.ศ.2527) เรื่อง น้ำแข็ง นอกจากควบคุมคุณภาพน้ำแข็งบริโภคแล้ว รวมถึงน้ำแข็งประมง หรือน้ำแข็งที่ใช้ดองปลา ซึ่งถือว่าเป็นน้ำแข็งที่สัมผัสกับอาหารด้วย ดังนั้นน้ำแข็งดองปลา ต้องมีคุณภาพตามประกาศ ฉบับที่ 78 (พ.ศ.2527) เรื่อง น้ำแข็งต้องมีการตรวจสอบจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคตามประกาศฯ (ฉบับที่ 419) พ.ศ. 2563 ด้วย

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      ตอบ เนื่องจากกระบวนการผลิต UHT / sterile สามารถทำลายเชื้อทั้งหมด จึงไม่ควรพบเชื้อดังกล่าวปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์  ดังนั้นจึงไม่ได้กำหนดเกณฑ์ไว้ หากมีการตรวจเฝ้าระวังแล้วพบว่าผลิตภัณฑ์มีการปนเปื้อนเชื้อจะพิจารณาดำเนินการดังนี้

      1. พบน้อยกว่า infective dose  จัดเป็นอาหารผิดมาตรฐาน หรือ
      2. พบเท่ากับหรือมากกว่า infective dose จัดเป็นอาหารผิดมาตรฐาน และอาหารไม่บริสุทธิ์

       

      link.png    การตรวจวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ตาม ปสธ. (ฉบับที่ 416)

      7172737475
      แสดงผล รายการ
      อย
      กองอาหาร

      FOOD DIVISION

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา : 88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

      จันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.

      • Website Policy
      • Privacy Policy
      • Disclaimer

      รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

      Sitemap
      หน้าแรก
        กฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • กฎหมายอาหารและกฎหมายลำดับรอง
        • เอกสารเผยแพร่ด้านกฎหมายอาหาร
        คู่มือสำหรับประชาชน
        • สถานที่ติดต่อยื่นขออนุญาต
        • ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาตแต่ละประเภทคำขอ
        บริการข้อมูล
        • ข้อมูลสำหรับผู้บริโภค
        • ข้อมูลสำหรับผู้ประกอบการ
        • คู่มือ / สื่อเผยแพร่
        • คำถามที่พบบ่อย
        ข่าวสารประชาสัมพันธ์
        • ข่าวสารการบริการ
        • ข่าวสารด้านกฎหมายอาหาร
        • ข่าวสารแจ้งเตือนผู้บริโภค
        • การอบรม / สัมมนา
        • รับสมัครงาน
        • ปฏิทินกิจกรรม
        เกี่ยวกับกองอาหาร
        • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
        • โครงสร้างหน่วยงาน
        สำหรับเจ้าหน้าที่
        • ความรู้ที่จำเป็นสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. อาหาร
        • ระบบ e-saraban
        • จองห้องประชุม

        ผู้ชมเว็บไซต์ :

        rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
        • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
        • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
        Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

        no-popup